ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกชนหิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 30:
 
== สถานะการอนุรักษ์ ==
ในประเทศไทย นกชนหินมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562<ref>{{cite web |title=ขึ้นบัญชี “นกชนหิน” สัตว์ป่าสงวน ลำดับที่ 20 |url=https://news.thaipbs.or.th/content/302195 |website=ไทยพีบีเอส |publisher=สำนักข่าวไทยพีบีเอส |accessdate=9 March 2021}}</ref> และอนุสัญญา[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์|ไซเตส]]จัดเอาไว้ในบัญชีที่ 1 นกชนหินถูกล่าอย่างหนักเพื่อเอาสันบนจะงอยปากบนไปแกะสลักทำเป็นเครื่องใช้และเครื่องประดับที่มีคุณค่าสูงมาก และจากการสูญเสียแหล่งอาศัย จำนวนประชากรจึงลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจนในทุกบริเวณที่อาศัย<ref>{{cite book|author=[[Christopher Perrins|Perrins, Christopher]] (ed.)|title=Firefly Encyclopedia of Birds|publisher=Firefly Books|year=2003|isbn=1-55297-777-3}}</ref><ref> {{cite book|author=Kemp, Allen|title=Hornbills: Bucerotidae|publisher=Oxford University Press|year=1994|isbn=0-19-857729-X}}</ref><ref>[http://www.montereybay.com/creagrus/hornbills.html hornbills]</ref> นอกจากนี้ยังพบว่ามีนกชนหินหลงเหลืออยู่ในป่าของประเทศไทยอยู่น้อยกว่า 100 ตัว และพบชิ้นส่วนของนกเงือกอย่างน้อย 546 ชิ้น ซึ่งส่วนมากเป็นโหนกของนกชนหิน ได้ถูกประกาศขายผ่านทางหน้าเฟซบุคในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โดยผู้ลักลอบค้าสัตว์ป่าจะจ่ายเงินประมาณ 5,000-6,000 บาท สำหรับโหนกแต่ละโหนก ราคาจะสูงขึ้นสองถึงสามเท่าเมื่อนำมาขายในเมือง และจะสูงยิ่งขึ้นอีกหากมีการนำออกนอกประเทศ<ref>{{cite news |last1=Sivasomboon |first1=Busaba |title=Better protection sought for Thailand's helmeted hornbill |url=http://www.startribune.com/better-protection-sought-for-thailand-s-helmeted-hornbill/562798262/ |access-date=12 October 2019 |work=Minneapolis Star Tribune |agency=Associated Press |date=11 October 2019}}</ref>
 
== อ้างอิง ==