ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาวพม่าในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{Infobox ethnic group | group = ชาวพม่าในไทย | native_name = | native_name_lang = | image = Poi Sang Long Festival02.JPG | image_caption = ช...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
ใน พ.ศ. 2546 รัฐบาลไทยและพม่าได้ร่วลงนามในหนังสือบันทึกข้อตกลง เพื่อให้แรงงานที่หลั่งไหลเข้ามานี้เป็นแรงงานถูกกฎหมายและแก้ปัญหาการลักลองเข้าเมืองผิดกฎหมาย มีการใช้กระบวนการพิสูจน์สัญชาติโดยแรงงานข้ามชาติจะได้รับหนังสือเดินทางชั่วคราวและใบรับรองให้ทำงานในประเทศไทยได้เป็นเวลา 2 ปี พร้อมสิทธิคุ้มครองแรงงาน<ref name="mcgann"/><ref>[http://library.mol.go.th/opac/ebook/14184.1.pdf MOU 3 ประเทศ พม่า ลาว กัมพูลา] กระทรวงแรงงาน สืบค้น 6 มีนาคม พ.ศ.2564</ref>
 
ชาวพม่าอพยพราว 150,000 คน อาศัยอยู่ใน[[ค่ายผู้ลี้]]ทางการ 9 แห่งบริเวณชายแดนไทย - พม่า<ref name="ref">{{cite web|url=https://2009-2017.state.gov/j/prm/policyissues/issues/protracted/countries/157401.htm|title=Burmese Refugees in Thailand|publisher=US Department of State|accessdate=18 July 2015}}</ref> ค่ายที่ใหญ่ที่สุดคือ[[ค่ายผู้ลี้ภัยแม่ลา]]ที่ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 ใน พ.ศ. 2557 รัฐบาลไทยประกาสแผนการส่งกลับผู้ลี้ภัย ที่อาศัยอยู่ในค่ายลี้ภัยในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมากลับประเทศ<ref>{{cite news|url=https://www.reuters.com/article/2014/07/14/us-thailand-politics-myanmar-idUSKBN0FJ0I320140714|title=Thai junta's pledge to send back Myanmar refugees sparks concern|last=SAWITTA LEFEVRE|first=AMY|date=14 July 2014|publisher=Reuters|accessdate=18 July 2015}}</ref>
 
==อ้างอิง==