ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tonnamth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 2978804 โดย ScorpianPK: ไม่เป็นสารานุกรมด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาดมหาวิทยาลัยบูรพา}}
 
{{กล่องข้อมูล คณะในมหาวิทยาลัย
| ชื่อ = คณะสหเวชศาสตร์ <br/>มหาวิทยาลัยบูรพา
| ชื่ออังกฤษ = Faculty of Allied Health Sciences <br> Burapha University
| ภาพ = [[ไฟล์:Buu-logo11Logo buu.pngjpg|170130px]]
| วันที่ก่อตั้ง = 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
| คณบดี = รองผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มารุตประเสริฐ ตั้งวัฒนาชุลีพรมีรัตน์
| สีประจำคณะ = สีน้ำเงินขาวสีนำ้เงิน
| สัญลักษณ์คณะ =
| ที่อยู่ = อาคารวิทยาศาสตร์การแพทย์ <br> 169 ถนนลงหาดบางแสน [[ตำบลแสนสุข]] <br>[[อำเภอเมืองชลบุรี]] [[จังหวัดชลบุรี]] 20131
| วารสารคณะ =
| สถานปฏิบัติการ =
| เว็บ =[http://alliedhs.buu.ac.th/ http://alliedhs.buu.ac.th]
}}
'''คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา''' ({{lang-en|Faculty of Allied Health Sciences, Burapha University}}) เป็นคณะหนึ่งในกลุ่มคณะทางวิทยาศาสตร์สุขภาพของ[[มหาวิทยาลัยบูรพา]]ซึ่งประกอบด้วยคณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และคณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศ ทำการสอน และวิจัยทางวิชาความรู้ด้าน[[วิทยาศาสตร์การแพทย์]]และ[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่บุคคลทั่วไป ทั้งระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ ตลอดจนรองรับการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมในภาคตะวันออก โดยเริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2552 และเริ่มทำการรับนิสิตรุ่นที่ 1 ในปีการศึกษา 2553
 
== ประวัติ ==
'''คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา''' ({{lang-en|Faculty of Allied Health Sciences, Burapha University}}) เป็นคณะหนึ่งในกลุ่มคณะทางวิทยาศาสตร์สุขภาพของ[[มหาวิทยาลัยบูรพา]]ซึ่งประกอบด้วยคณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ และคณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศ ทำการสอน และวิจัยทางด้าน[[วิทยาศาสตร์การแพทย์]]และ[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]] เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่บุคคลทั่วไป ทั้งระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ ตลอดจนรองรับการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมในภาคตะวันออก เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2552 และเริ่มทำการรับนิสิตรุ่นที่ 1 ในปีการศึกษา 2553
'''คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา''' ได้ก่อตั้งเมื่อ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 โดยเป็นคณะจัดตั้งใหม่ของ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยมีบทบาทในการจัดการเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ มุ่งจัดการศึกษา การวิจัยและการบริการวิชาการด้านการสืบค้นสาเหตุ ปัจจัยและกลไกของโรค การวินิจฉัย การบำบัดรักษา ตลอดจนการฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยและประชากร โดยคณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้รับการยกฐานะจากภาควิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ ตามมติกรรมการสภามหาวิทยาลัยบูรพา
 
ปัจจุบันมีหลักสูตรที่เปิดสอน 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรวิทยาศาสตร์การแพทย์ และหลักสูตรชีวเวชศาสตร์ โดยในปีการศึกษา 2554 นั้น
== ประวั[[ติ]]==
ทางคณะสหเวชศาสตร์ มีแผนในการเปิดสอนหลักสูตรเทคนิคการแพทย์ หลักสูตรกายภาพบำบัด หลักสูตรพยาธิวิทยากายวิภาค และหลักสูตรโภชนเวชศาสตร์ เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาในสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ และในอนาคตอันใกล้ทางคณะสหเวชศาสตร์ มีแผนในการเปิดหลักสูตรเวชศาสตร์ใต้น้ำ เป็นหลักสูตรแรกของประเทศไทย
'''คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา''' เป็นคณะที่จัดการเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และวิทยาศาตร์สุขภาพ ด้านการศึกษาวิจัยสาเหตุ ปัจจัย กลไกการก่อโรค การดำเนินโรค การวินิจฉัยโรค การบำบัด และการฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยและประชากร โดยได้รับการยกฐานะจาก ภาควิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ ตามมติกรรมการสภามหาวิทยาลัยบูรพา ในคราวประชุม ครั้งที่ 2/2552 ลงวันที่ 27 มีนาคม 2552 นายกสภามหาวิทยาลัยบูรพาลงนามในประกาศมหาวิทยาลัยบูรพา เรื่องการจัดตั้งส่วนงาน คณะสหเวชศาสตร์ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2552 (คณะกรรมการบริหารคณะสหเวชศาสตร์มีมติให้เป็นวันสถาปนา คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา) และได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับที่ 3 ปีพุทธศักราช 2552 เล่มที่ 126 ตอนพิเศษ 103ง เรื่อง การจัดตั้งส่วนงานและภาระหน้าที่ของส่วนงาน มหาวิทยาลัยบูรพา เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2552 มหาวิทยาลัยบูรพา มีการดำเนินงานจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยทำการเปิดและขยายหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่การแยกตัวจัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อปีพุทธศักราช 2533 กล่าวคือ การจัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ ภาควิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร และคณะแพทยศาสตร์ ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยบูรพาจึงมีศักยภาพและความพร้อมในระดับที่สามารถขยายโอกาสทางการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพให้ครอบคลุมทุกสาขาได้ โครงการจัดตั้งคณะสหเวชศาสตร์จึงเป็นเป้าหมายต่อไปของการพัฒนาการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ให้ครอบคลุมทุกสาขาตามเป้าหมายของมหาวิทยาลัย
 
== หลักสูตร ==
{| class="toccolours" width = 100%
* '''1. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีวเวชศาสตร์''' (BACHELOR OF SCIENCE PROGRAM IN BIOMEDICAL SCIENCES)
เนื่องจากประเทศไทยยังขาดบุคลากรทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลกำหนดแผนยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550-2559 เร่งผลิตบุคลากรด้านสุขภาพให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศชาติ เพื่อสนองตอบต่อนโยบายดังกล่าว คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จึงเปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาชีวเวชศาสตร์ขึ้น โดยมุ่งเน้นผลิตบุคลากรวิทยาศาสตร์สุขภาพที่มีความรู้ความสามารถด้านวิชาการ การบริการ และการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อให้มีบัณฑิตด้านสุขภาพเพียงพอต่อความต้องการกำลังคนของประเทศ บัณฑิตของหลักสูตรชีวเวชศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นบัณฑิตที่จะเข้าไปร่วมงานบริการสุขภาพในทีมสุขภาพ มี 1 วิชาเอกเลือก คือ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ มุ่งผลิตนักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการหรือหน่วยงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
ตัวอย่างอาชีพของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ได้แก่
(1) การวิจัยทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ : นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ นักวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยนักวิจัย พนักงานวิทยาศาสตร์ประจำศูนย์เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ พนักงานขายหรือผู้แทนจำหน่ายเครื่องมือและวัสดุวิทยาศาสตร์ เครื่องมือและวัสดุทางการแพทย์ เวชภัณฑ์
 
* '''2. หลักสูตรหลักสูตรกายภาพบำบัดบัณฑิต '''(BACHELOR OF PHYSICAL THERAPY)
หลักสูตรกายภาพบำบัดบัณฑิต ได้ผ่านการรับรองจากสภากายภาพบำบัดเรียบร้อยแล้ว เน้นการผลิตนักกายภาพบำบัด ที่มีความรู้ความสามารถในการบริการสุขภาพแบบองค์รวมเชิงรุก การส่งเสริมสุขภาพของประชาชน การป้องกันการแกไข้ และการฟื้นฟูความเสื่อมสภาพ ความพิการโดยได้มีการเปิดรับนิสิตตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นมา
ตัวอย่างอาชีพของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ได้แก่
นักกายภาพบำบัด ประจำโรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุข ศูนยศึกษาพิเศษเพื่อเด็กพิการ รวมถึงสถานส่งเสริมสุขภาพ สโมสรและทีมกีฬา สถาบันเสริมความงามต่างๆ ของภาครัฐและเอกชน นักกายภาพบำบัดอิสระ หรือเปิดคลินิกกายภาพบำบัด อาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและเอกชน นักวิชาการ นักวิจัย ประกอบธุรกิจอื่น เช่น ผู้แทนจำหน่ายเครื่องมือ และอุปกรณ์ทางการแพทย์และทางกายภาพบำบัด
 
* '''3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคนิคการแพทย์ '''(BACHELOR OF SCIENCE PROGRAM IN MEDICAL TECHNOLOGY)
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคนิคการแพทย์ ได้ผ่านการรับรองจากสภาเทคนิคการแพทย์เรียบร้อยแล้ว มีเป้าหมายที่จะผลิตนักเทคนิคการแพทย์ที่มีความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์ เพื่อสนองต่อแนวนโยบายการพัฒนาประเทศ สามารถทำงานเกี่ยวข้องกับการตรวจวิเคราะห์สิ่งส่งตรวจของผปู้วย เช่น เลือด ปัสสาวะ อุจจาระ และสารคัดหลั่งต่าง ๆ ทางห้องปฏิบัติการ เพื่อประโยชน์ต่อการวินิจฉัยโรค การวางแผนการรักษา และการพยากรณ์โรค ตลอดจนการเฝ้าระวังและป้องกันโรค โดยได้มีการเปิดรับนิสิตตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นมา
ตัวอย่างอาชีพของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ได้แก่
ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตรของโรงพยาบาลรัฐบาลและเอกชน นักวิจัยในห้องปฏิบัติการวิจัย ผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์ เครื่องมือ และน้ำยาทางการแพทย์ หรือศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นนักวิจัยหรืออาจารย์สอนในระดับอุดมศึกษา
 
* '''4. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาพยาธิวิทยากายวิภาค''' BACHELOR OF SCIENCE PROGRAM IN ANATOMICAL PATHOLOGY)
เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตบุคลากรทางด้านพยาธิวิทยากายวิภาค ที่มีความรู้ความสามารถในการเตรียมเนื้อเยื่อ และตรวจคัดกรองเซลล์ผิดปกติเบื้องต้น เพื่อช่วยพยาธิแพทย์ในการคัดกรอง การเตรียม และการตรวจทางพยาธิวิทยา เพื่อให้การวินิจฉัยโรคของแพทย์รวดเร็วข้น ซึ่งรองรับนโยบายชาติด้านการขยายบริการสุขภาพแก่ประชาชนให้ทั่วถึง รวมทั้งลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค และประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า
ตัวอย่างอาชีพของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ได้แก่
ผู้ตรวจคัดกรองทางเซลล์พยาธิวิทยา นักวิทยาศาสตร์สาขาพยาธิวิทยา นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ ผู้ช่วยนักวิจัยทางพยาธิวิทยา หรือศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาท้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นนักวิจัยหรืออาจารย์สอนในระดับอุดมศึกษา
 
{{คณะสหเวชศาสตร์ในประเทศไทย}}
* '''5. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาโภชนบำบัดและการกำหนดอาหาร''' (BACHELOR OF SCIENCE PROGRAM IN NUTRITIONAL THERAPY AND DIETETICS)
เป็นหลักสูตรที่มีความเข้มแข็งทางวิชาการเป็นอย่างสูง และเป็นหลักสูตรด้านการกำหนดอาหารเพียงแห่งเดียวที่ทำการเรียนการสอนในภาคตะวันออก โดยพัฒนารายวิชาในหลักสูตรให้ครอบคลุมองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการมากขึ้นทุกด้าน อาทิ ด้านโภชนคลินิกและการกำหนดอาหาร ด้านโภชนาการชุมชน ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร รวมถึงการฝึกปฏิบัติงานไม่ต่ำกว่า 900 ชั่วโมง โดยครอบคลุมด้านโภชนคลินิก โภชนบริการ และโภชนาการชุมชนตามหลักเกณฑ์ของสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย
เป็นหลักสูตรเดียวที่ผลิตบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญวิชาการเฉพาะด้านโภชนาการชุมชน และโภชนาการคลินิกในภาคตะวันออก นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นให้นิสิตฝึกปฏิบัติงานในโรงพยาบาลและสถานบริการสุขภาพในภาคตะวันออก เพื่อให้นิสิตสามารถวิเคราะห์หาสาเหตุ วางแผน ป้องกัน แก้ไขปัญหา และส่งเสริมโภชนาการชุมชนได้อย่างเป็นระบบ
อาชีพภายหลังสำเร็จการศึกษาของบัณฑิตหลักสูตรโภชนบำบัดและการกำหนดอาหาร คือการทำงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพในการประเมิน ติดตาม และวางแผน ด้านภาวะทางโภชนาการของผู้ป่วย การคำนวณความต้องการพลังงานของผู้ป่วย เพื่อจัดและแนะนำอาหารให้เหมาะสมกับภาวะของร่างกายทั้งอาหารปกติและอาหารทางสายยาง สนับสนุนการรักษาผู้ป่วยโดยใช้อาหารเป็นเครื่องมือในการช่วยให้ร่างกายฟื้นจากโรคภัยไข้เจ็บและกลับคืนสู่สภาวะปกติ ตลอดจนการแนะนำและการจัดอาหารเพื่อสุขภาพเฉพาะบุคคลตามความแตกต่างด้านพฤติกรรมการบริโภค การใช้ชีวิตประจำวัน ศาสนา และวัฒนธรรม ตลอดจนคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆด้านอาหารและโภชนาการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านโภชนาการให้แก่ผู้ป่วยรวมถึงบุคคลทั่วไป บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสามารถสอบใบรับรองเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นนักกำหนดอาหารวิชาชีพจากสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทย โดยตัวอย่างอาชีพที่รองรับ ได้แก่ นักโภชนาการ นักกำหนดอาหาร ประจำโรงพยาบาลและสถานประกอบการอื่นๆทั้งภาครัฐบาลและเอกชน นักวิจัยทางด้านโภชนาการในสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ผู้ประกอบการด้านอาหาร โภชนาการ ในสถานส่งเสริมสุขภาพและความงาม ที่ปรึกษาทางด้านโภชนบำบัด การกำหนดอาหาร รวมถึงศึกษาต่อในระดับปริญญาโท/เอกด้านโภชนาการ หรือด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพอื่นๆที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นนักวิจัยหรืออาจารย์สอนในระดับอุดมศึกษา {{คณะสหเวชศาสตร์ในประเทศไทย}}
{{มหาวิทยาลัยบูรพา}}
 
[[หมวดหมู่:หน่วยงานในมหาวิทยาลัยบูรพา|สหเวชศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:คณะสหเวชศาสตร์ในประเทศไทย|บูรพา]]
[[หมวดหมู่:คณะเทคนิคการแพทย์ในประเทศไทย]]