ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 50:
}}
{{การทัพ แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)}}
'''ปฏิบัติการบาร์บาร็อสซา''' ({{lang-de|Unternehmen Barbarossa}}, {{lang-en|Operation Barbarossa}}, {{lang-ru|Операция Барбарросса}}) เป็นรหัสนามสำหรับการบุกครอง[[สหภาพโซเวียต]]ของ[[ฝ่ายอักษะ]] ซึ่งเริ่มต้นขึ้น เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ปฏิบัติการดังกล่าวได้นำไปสู่การกระทำเพื่อเป้าหมายทางด้านอุดมการณ์ของ[[นาซีเยอรมนี]]ในการพิชิตดินแดนสหภาพโซเวียตทางด้านตะวันตกเพื่อที่จะสร้างพื้นที่อยู่อาศัยใหม่ให้กับ[[ชาวเยอรมัน]] [[เกเนอราลพลานอ็อสท์]]ของเยอรมันนั้นมีเป้าหมายที่จะใช้ประชากรที่พิชิตมาได้บางส่วนมาเป็นแรงงานเกณฑ์สำหรับความพยายามทำสงครามของฝ่ายอักษะ ในขณะที่ได้เข้ายึดแหล่งบ่อน้ำมันสำรองบนเทือกเขา[[คอเคซัส]] รวมทั้งทรัพยากรทางเกตรกรรมเกษตรกรรมของดินแดนต่าง ๆ ของโซเวียต เป้าหมายสูงสุดของพวกเขา รวมถึงท้ายที่สุดแล้ว ได้ทำการกวาดล้าง การถูกทำให้เป็นทาส การถูกทำให้เป็นเยอรมัน และการเนรเทศต่อ[[ชาวสลาฟ]]จำนวนมากมายไปยัง[[ไซบีเรีย]] และเพื่อสร้าง[[เลเบินส์เราม์]](พื้นที่อยู่อาศัย) สำหรับเยอรมนี{{sfn|Rich|1973|pp=204–221}}{{sfn|Snyder|2010|p=416}}
 
ในช่วงสองปีที่นำไปสู่การบุกครอง เยอรมนีและสหภาพโซเวียตได้ลงนามในสนธิสัญญา[[กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบินทร็อพ|ทางการเมือง]]และ[[ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจของนาซี-โซเวียต (ค.ศ. 1934-1941)|เศรษฐกิจ]]เพื่อเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ อย่างไรก็ตาม [[กองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์]](OKW) ได้เริ่มวางแผนการบุกครองสหภาพโซเวียตในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1940 (ภายใต้รหัสนามว่า [[ปฏิบัติการอ็อทโท]]) ซึ่ง[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]ได้มอบอำนาจ เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1940 ในช่วงระหว่างปฏิบัติการดังกล่าว จำนวนกำลังพลประมาณสามล้านนายของฝ่ายอักษะ ซึ่งเป็นกองกำลังรุกรานที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาตร์สงคราม การบุกครองดินแดนสหภาพโซเวียตทางด้านตะวันตกตามแนวรบระยะทางประมาณ 2,900 กิโลเมตร (1,800 ไมล์) ด้วยยานยนต์ 600,000 คัน และจำนวนม้ากว่า 600,000 ตัว สำหรับปฏิบัติการที่ไม่ใช่การสู้รบ การบุกครองดังกล่าวได้ขยายตัวอย่างมากในสงครามโลกครั้งที่สอง ทั้งในทางด้านภูมิศาสตร์และในการก่อตัวของ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|แนวร่วมฝ่ายสัมพันธมิตร]] รวมทั้งสหภาพโซเวียต