ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิบัติการวัลคือเรอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
แผนการดั้งเดิมได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินภายในประเทศ โดยกองเสนาธิการของพลเอกฟรีดริช อ็อลบริชท์<ref name="Ref-1">Joachim Fest, ''Plotting Hitler's Death: The German Resistance to Hitler, 1933–1945'', 1996, p219</ref> และได้รับการรับรองเห็นชอบจากฮิตเลอร์เอง อันที่จริง แนวคิดในการวางแผนดึงเอากองกำลังสำรองของกองทัพบกเยอรมันในแนวหลัง (ในดินแดนเยอรมันเองหลังแนวรบ) มาใช้ในการก่อ[[รัฐประหาร]]เคยถูกหยิบยกขึ้นมาขบคิดก่อนหน้านี้แล้ว แต่ถูกพลเอกอาวุโส[[ฟรีดริช ฟร็อม]] ปฏิเสธที่จะให้ความร่วมมือ
 
การที่พลเอกเอกอาวุโสฟรีดริช ฟร็อม ผู้บัญชาการกองทัพสำรอง เป็นนายทหารคนเดียวที่สามารถออกคำสั่งเริ่มปฏิบัติการวัลคือเรอ ถือเป็นอุปสรรคต่อคณะรัฐประหารอย่างร้ายแรง แต่กระนั้น หลังจากบทเรียนที่ได้รับมาหลังจาก[[:en:Operation Spark (1940)|ความพยายามลอบสังหารฮิตเลอร์]] ในวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 1943 แล้ว พลเอกอ็อลบริชท์รู้สึกว่าแผนการก่อรัฐประหารฉบับเดิมนั้นไม่ดีพอ และจะต้องมีการดึงเอากองทัพสำรองมาใช้ในการก่อรัฐประหารด้วยให้ได้ แม้ว่าจะไม่ได้รับความร่วมมือจากพลเอกอาวุโสฟร็อมก็ตาม
 
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 146-1976-130-53, Henning v. Tresckow.jpg|200px|thumb|พลตรี[[เฮ็นนิง ฟ็อน เทร็สโค]]]]
บรรทัด 17:
 
{{quotation|
{{c|{{fs|120%|'''<u>โทรพิมพ์</u>'''}}}}
:''I.) [[ฟือเรอร์|ท่านผู้นำ]]ฮิตเลอร์ถึงแก่อสัญกรรมแล้ว!
::''พวกคนไร้คุณธรรมในกลุ่มผู้นำพรรค กำลังพยายามใช้ประโยชน์จากสถานการณ์นี้ทำการแทงข้างหลังกองทัพ และยึดอำนาจไว้เพื่อตนเอง''
:''II.) ในยามวิกฤตยิ่งเช่นนี้ รัฐบาลไรช์ขอประกาศภาวะฉุกเฉินทางทหารเพื่อรักษากฎระเบียบ พร้อมกันนี้ ได้โอนอำนาจบริหาร[[กองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์]]มายังข้าพเจ้า''
:''III.) ด้วยเหตุนี้ ข้าพเจ้าจึงขอสั่งการ:''
:: ''1.) โอนอำนาจบริหาร พร้อมสิทธิ์มอบช่วงต่อ ให้กับผู้บัญชาการบนดินแดนดังต่อไปนี้ –ในเขตสงครามเคหะได้แก่ผู้บัญชาการกองทัพสำรอง พร้อมกันนี้ได้ตั้งเป็นผู้บัญชาการใหญ่เขตสงครามเคหะ –เขตยึดครองตะวันตกได้แก่ผู้บัญชาการใหญ่ตะวันตก –ในอิตาลีได้แก่ผู้บัญชาการใหญ่ตะวันตกเฉียงใต้ –เขตยึดครองตะวันออกได้แก่เหล่าแม่ทัพกลุ่มและผู้บัญชาการทหารแวร์มัคท์แดนตะวันออกตามลำดับพื้นที่บัญชาการ –ในเดนมาร์กและนอร์เวย์ได้แก่ผู้บัญชาการทหารแวร์มัคท์
:: ''2.) ให้ผู้ถืออำนาจบริหารเข้าบังคับเหนือ:
::: ''a) ทหารแวร์มัคท์ทุกกรมกอง ตลอดจน[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]] กองแรงงานไรช์ และ[[องค์การท็อท]] ในพื้นที่ใต้บังคับ
::: ''b) อำนาจฝ่ายรัฐทั้งหมด (ของไรช์, เยอรมนี, มลรัฐ และเทศบาล) โดยเฉพาะตำรวจรักษาความสงบ, ตำรวจรักษาความมั่นคง และตำรวจอำนวยการ
::: ''c) เจ้าหน้าที่และหน่วยงานย่อยทั้งหมดของพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน ตลอดจนสมาคมในสังกัด
::: ''d) บริการคมนาคมขนส่งและสาธารณูปโภค
:: ''3.) ให้ผนวกวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดเข้ากับกองทัพบก มีผลในทันที''
:: ''4.) ให้ผู้ถืออำนาจบริหารรับผิดชอบรักษาระเบียบความมั่นคงของส่วนรวม และเอาใจใส่ต่อ''
::: ''a) ความมั่นคงในการข่าว
::: ''b) การขจัด[[ซิชเชอร์ไฮทซ์ดีนสท์|ตำรวจเอ็สเด]]
 
:''I.) [[ฟือเรอร์|ท่านผู้นำ]] อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ถึงแก่อสัญกรรมกรรมแล้ว!
:''การฝ่าฝืนอำนาจบังคับทหารจะถูกทำลายล้างอย่างไม่เว้น''
::''พวกคนไร้คุณธรรมในกลุ่มผู้นำพรรค กำลังพยายามใช้ประโยชน์จากสถานการณ์นี้ทำการแทงข้างหลังกองทัพ และยึดอำนาจไว้เพื่อตนเองเอง''
:''ในยามวิกฤตของปิตุภมิเช่นนี้ ความสมานฉันท์ของกองทัพและการรักษาระเบียบวินัยคือสิ่งสำคัญที่สุด''
:''II.) ในยามวิกฤตยิ่งเช่นนี้ รัฐบาลไรช์ขอประกาศภาวะฉุกเฉินทางทหารเพื่อรักษากฎระเบียบ พร้อมกันนี้ ได้โอนอำนาจบริหาร[[กองบัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์]]มายังข้าพเจ้า''
:''ข้าพเจ้าจึงมีความจำเป็นต้องมอบหมายหน้าที่แก่ผู้บัญชาการทั้งหมดของกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ให้การสนับสนุนทุกวิถีทางแก่ผู้ถืออำนาจบริหารเพื่อปฏิบัติภารกิจอันยากลำบากนี้ รวมถึงเอาใจใส่ว่าคำสั่งการของพวกเขาได้ถูกปฏิบัติตามโดยหน่วยใต้บังคับบัญชา ทหารเยอรมันกำลังยืนอยู่บนภารกิจแห่งประวัติศาสตร์
:''III.) ด้วยเหตุนี้ ข้าพเจ้าจึงขอสั่งการ:''
:: 1.) โอนอำนาจบริหาร พร้อมสิทธิ์มอบช่วงต่อ ให้กับผู้บัญชาการบนดินแดนดังต่อไปนี้
:::ในเขตเคหะได้แก่ ผู้บัญชาการกองทัพสำรอง พร้อมกันนี้ได้ตั้งเป็นผู้บัญชาการใหญ่เขตสงครามเคหะ
:::ในเขตตะวันตกได้แก่ [[ผู้บัญชาการใหญ่ตะวันตก]] (แม่ทัพกลุ่ม D)
:::ในอิตาลีได้แก่ ผู้บัญชาการใหญ่ตะวันตกเฉียงใต้ (แม่ทัพกลุ่ม C)
:::ในเขตตะวันออกเฉียงใต้ได้แก่ ผู้บัญชาการใหญ่ตะวันออกเฉียงใต้ (แม่ทัพกลุ่ม F)
:::ในประเทศตะวันออกในยึดครองได้แก่แม่ทัพกลุ่มยูเครนใต้, ยูเครนเหนือ, กลาง, เหนือ และผู้บัญชาการทหารแวร์มัคท์แดนตะวันออก ตามลำดับพื้นที่บัญชาการของแต่ละคน
:::ในเดนมาร์กและนอร์เวย์ได้แก่ ผู้บัญชาการทหารแวร์มัคท์
:: ''2.) ให้ผู้ถืออำนาจบริหารเข้าบังคับเหนือ:
::: ''a) ทหารแวร์มัคท์ทุกกรมกอง ตลอดจน[[วัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส]] กองแรงงานไรช์ และ[[องค์การท็อท]] ในพื้นที่ใต้บังคับ
::: ''b) อำนาจฝ่ายรัฐทั้งหมด (ของไรช์, เยอรมนี, มลรัฐ และเทศบาล) โดยเฉพาะตำรวจรักษาความสงบ, ตำรวจรักษาความมั่นคง และตำรวจอำนวยการ
::: ''c) เจ้าหน้าที่และหน่วยงานย่อยทั้งหมดของพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน ตลอดจนสมาคมในสังกัด
::: ''d) บริการคมนาคมขนส่งและสาธารณูปโภค
:: ''3.) ให้ผนวกวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดเข้ากับกองทัพบก มีผลในทันที''
:: ''4.) ให้ผู้ถืออำนาจบริหารรับผิดชอบรักษาระเบียบความมั่นคงของส่วนรวม และเอาใจใส่ต่อ''
::: ''a) ความมั่นคงในการข่าว
::: ''b) การขจัด[[ซิชเชอร์ไฮทซ์ดีนสท์|ตำรวจเอ็สเด]]
 
:''การฝ่าฝืนใดใดต่ออำนาจบังคับทหารของกองทัพ จะถูกทำลายล้างปราบอย่างไม่เว้นปราณี''
::''ผู้บัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์''
:''ในยามวิกฤตของปิตุภมิเช่นนี้ ความสมานฉันท์ของกองทัพและการรักษาระเบียบวินัยคือสิ่งสำคัญที่สุด''
::''(ลงนาม) [[แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน|ฟ. วิทซ์เลเบิน]]''
:''ข้าพเจ้าจึงมีความจำเป็นต้องมอบหมายหน้าที่แก่ผู้บัญชาการทั้งหมดของกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ให้การสนับสนุนทุกวิถีทางแก่ผู้ถืออำนาจบริหารเพื่อปฏิบัติภารกิจอันยากลำบากนี้ รวมถึงเอาใจใส่ว่าคำสั่งการของพวกเขาได้ถูกปฏิบัติตามโดยหน่วยใต้บังคับบัญชา ทหารเยอรมันกำลังยืนอยู่บนภารกิจแห่งประวัติศาสตร์ ประเทศเยอรมนีจะปลอดภัยหรือไม่ ขึ้นอยู่กับพลังกายพลังใจของทุกนาย
::::''จอมพล''
 
::'':ผู้บัญชาการใหญ่แห่งแวร์มัคท์''
::'':(ลงนาม) [[แอร์วีน ฟ็อน วิทซ์เลเบิน|ฟ. วิทซ์เลเบิน]]''
::::'':จอมพล''
}}