ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันทิวา สินรัชตานันท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Viewwwwww (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pziou (คุย | ส่วนร่วม)
This change is from the artist biography and more to come to correct the information those the artist allowed by herself with her photos
บรรทัด 42:
}}
 
'''แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์''' เกิดวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2493 เป็นนักร้องชาวไทย เกิดที่[[จังหวัดตาก]]
'''แพทย์หญิงพันทิวา สินรัชตานันท์''' เกิดวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2493 เป็นนักร้องชาวไทย เกิดที่[[จังหวัดตาก]] เจ้าของ[[รางวัลทีวีตุ๊กตาทองมหาชน 2 ปี ซ้อน]], [[แผ่นเสียงทองคำพระราชทาน]] สาขานักร้องยอดนิยม ปี พ.ศ. 2524 และ 2525 รางวัลพระพิฆเนศทอง 2535, รางวัลแพทย์ต้นแบบ (25 คน) ในวาระฉลอง 50 ปี แพทยสภา 2561, รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น เพลงการเมือง 2547 ปปร สถาบันพระปกเกล้า, รางวัลกรังปรีช์ และ นักร้องยอดนิยม Thailand Popular Song Festival 2527 เพลงสู่สันติภาพ เป็นตัวแทนประเทศไทย ไป Tokyo World Popular Song Festival และ Kuala Lumper World Kite Populat Song Festival และรางวัลเพลงดีเด่น สองรางวัลในเพลง เพลินไพร, ชีวิต รางวัลชนะเลิศเพลง โดมเริงใจ รางวัลรองชนะเลิศ เพลง เลือดธรรมศาสตร์ไม่จาง งาน 50 ปี ธรรมศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศ เพลงออมสิน 72 ปี
 
เจ้าของ[[รางวัลทีวีตุ๊กตาทองมหาชน 2 ปี ซ้อน]], นักร้องยอดนิยม
 
[[แผ่นเสียงทองคำพระราชทาน]]
 
รางวัลพระพิฆเนศทอง 2535,
 
รางวัลแพทย์ต้นแบบ (25 คน) ในวาระฉลอง 50 ปี แพทยสภา 2561,
 
รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น เพลงการเมือง 2547 ปปร สถาบันพระปกเกล้า,
 
รางวัลกรังปรีช์ และ นักร้องยอดนิยม Thailand Popular Song Festival 2527 เพลงสู่สันติภาพ
 
เป็นตัวแทนประเทศไทย ไป Tokyo World Popular Song Festival และ Kuala Lumper World Kite Populat Song Festival
 
และรางวัลเพลงดีเด่น สองรางวัลในเพลง เพลินไพร, ชีวิต
 
รางวัลชนะเลิศเพลง โดมเริงใจ รางวัลรองชนะเลิศ เพลง เลือดธรรมศาสตร์ไม่จาง งาน 50 ปี ธรรมศาสตร์
 
รางวัลรองชนะเลิศ เพลงออมสิน 72 ปี
 
== ประวัติ ==
พันทิวา มีบิดาชื่อ แต้เที๊ยะลิ้น เป็นชาว[[จีนแต้จิ๋ว]] จาก[[ซัวเถา]]มาตั้งรกรากที่ประเทศไทย ก่อนเปลี่ยนชื่อเป็น เธียร สินรัชตานันท์
พันทิวา มีบิดาชื่อ แต้เที๊ยะลิ้น เป็นชาว[[จีนแต้จิ๋ว]] จาก[[ซัวเถา]]มาตั้งรกรากที่ประเทศไทย ก่อนเปลี่ยนชื่อเป็น เธียร สินรัชตานันท์ ส่วนมารดาชื่อ จงจิตร สุทธินันท์ เป็นชาวกรุงเทพฯ ศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาล จังหวัดตาก จนจบประถมศึกษา 4 จึงย้ายไปศึกษาต่อที่โรงเรียนตากสินมหาราชานุสรณ์ [[จังหวัดตาก]] จนจบประถมศึกษาที่ 7 ต่อมาย้ายไปศึกษาที่โรงเรียนสตรีตากผดุงปัญญา กระทั่งจบมัธยมศึกษาที่ 5 ที่[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] จากนั้นได้รับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] รุ่นที่ 12 และวิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รุ่น 6 และได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูง วิทยาศาสตร์การแพทย์ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] (รามาธิบดี) ในปี พ.ศ. 2520 นอกจากนั้นเธอยังได้รับวุฒิบัตรผู้เชี่ยวชาญจักษุวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล (รามาธิบดี) รุ่น 5, เวชศาสตร์การกีฬา และอาชีวเวชศาสตร์ รุ่น 10, นิติศาสตรภาคบัณฑิต [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] รุ่น 33, หลักสูตรสำหรับนักบริหารระดับสูง ด้านการเมืองการปกครอง รุ่น 9 สถาบันพระปกเกล้า (ประกาศนียบัตรชั้นสูง), หลักสูตรกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา และการค้าระหว่างประเทศ และหลักสูตรการเจรจาไกล่เกลี่ยโดยทรัพย์สินทางปัญญา และการค้าระหว่างประเทศ<ref>http://www.thaipost.net/tabloid/240509/5127</ref>
 
ส่วนมารดาชื่อ จงจิตร สุทธินันท์ เป็นชาวกรุงเทพฯ เป็นคนเล็กสุด มีพี่ 4คน
 
 
1.การศึกษา
 
ศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาล จังหวัดตาก จนจบประถมศึกษา 4
 
ศึกษาต่อที่โรงเรียนตากสินมหาราชานุสรณ์ [[จังหวัดตาก]] จนจบประถมศึกษาที่ 7
 
ศึกษาที่โรงเรียนสตรีตากผดุงปัญญา มศ.1-3
 
จบมัธยมศึกษาที่ 5 ที่[[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]] แผนกวิทยาศาสตร์
 
ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] รุ่นที่ 12 และวิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รุ่น 6
 
และได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูง วิทยาศาสตร์การแพทย์ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] (รามาธิบดี) ในปี พ.ศ. 2520
 
วุฒิบัตรผู้เชี่ยวชาญจักษุวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล (รามาธิบดี) รุ่น 5,
 
เวชศาสตร์การกีฬา และอาชีวเวชศาสตร์ รุ่น 10,
 
นิติศาสตรภาคบัณฑิต [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] รุ่น 33,
 
หลักสูตรสำหรับนักบริหารระดับสูง ด้านการเมืองการปกครอง รุ่น 9 สถาบันพระปกเกล้า (ประกาศนียบัตรชั้นสูง),
 
หลักสูตรกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา และการค้าระหว่างประเทศ
 
หลักสูตรการเจรจาไกล่เกลี่ยโดยทรัพย์สินทางปัญญา และการค้าระหว่างประเทศ<ref>http://www.thaipost.net/tabloid/240509/5127</ref>
 
 
2.งานร้องเพลงจนก้าวสู่ศิลปินมืออาชีพ ตำนานเพลงเทพธิดาดอย
 
เริ่มต้นการร้องเพลงในโรงเรียนอนุบาล แสดงละครและระบำในงานโรงเรียนทุกปี
 
ร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ในงานระดับจังหวัด
 
ประกวดระดับมหาวิทยาลัยในตำแหน่งนักร้องนำวงดนตรี The Science ได้รับรางวัลวงดนตรีชนะเลิศของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2513
 
จากการชักนำไปออกรายการร้องเพลงทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม โดยศาสตราจารย์ นายแพทย์ พูนพิศ อมาตยกุล
 
บันทึกเสียงร้องเพลงไทยเดิมชุดลาวดวงเดือน เป็นครั้งแรก
 
ชุดที่สองคือเพลงของ ว.วัชญาน์ ชุด เธอรักฉันอย่างไร เพลงลาแล้วดวงใจ
 
เธอโด่งดังจากเพลง "[[เทพธิดาดอย]]" ในปี 2523 จากภาพยนตร์ชื่อเรื่องเดียวกัน โดย จิรบันเทิงฟิล์ม ของ [[จีรวรรณ กัมปนาทแสนยากร]] นำแสดงโดย [[ไกรสร แสงอนันต์]], [[เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์]] เพลงเทพธิดาดอย ถูกใช้เป็นเพลงประกวดชิงชนะเลิศหลายรายการทางทีวี เช่น Golden Song และบันทึกเสียง cover โดยนักร้องทุกช่วงเวลาโดยกลายเป็นเพลง สำหรับการแสดงของเด็กนักเรียนทั่วประเทศไทย
 
เพลงคนจนไม่มีสิทธิ์เจ็บป่วย รับรางวัลนักร้องแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน ในอัลบัม พันทิวาChorus ร้องกับนักร้องประสานเสียงวงทหารเรือ
 
เธอออกแผ่นเสียงอัลบั้มเต็มชื่อชุด "วิมานทราย" ประพันธ์โดยวราห์ วรเวช และ เรียบเรียงเสียงประสานโดยพิมพ์ปฏิภาณ พึ่งธรรมจิต
 
บันทึกเสียงกับทาง อีเอ็มไอ (ประเทศไทย) ในชื่อชุด "เดินชมดอย" ประพันธ์โดย วินัย รุ่งอนันต์
 
บันทึกเสียงเพลงชุดสุนทราภรณ์ สองชุด คือ หงษ์เหิร และ หงษ์สบัดบาป กับค่ายเพลง เมโทร
 
พ.ศ. 2526 เธอเป็นนักร้องคนแรกที่[[แกรมมี่]] ภายใต้การดำเนินงานของ[[เรวัต พุทธินันทน์]] ออกผลงานในชื่อชุด "นิยายรักจากก้อนเมฆ" เป็นผลงานการเขียนคำร้องทั้งชุดโดย [[บุษบา ดาวเรือง]] ดนตรีและทำนองประพันธ์โดย วิชัย อึ้งอัมพร และควบคุมการผลิตโดย เรวัต พุทธินันทน์ เพลง "นิยายรักจากก้อนเมฆ" ได้รับการตอบรับที่ดีจากผู้ฟังทางวิทยุ
 
ในปี พ.ศ. 2528 ออกผลงาน งานเขียนคำร้องโดย กรวิก และ พนัส หิรัญกสิ ดนตรีเรียบเรียงเสียงประสานโดย ปราจีน ทรงเผ่า ควบคุมการผลิตโดย เรวัต พุทธินันทน์
 
พศ.2535 ขับร้องเพลงพระราชนิพนธรภิรมย์รัก และ Love story ในชุดวงดุริยางค์ทหารบก
 
เธอเป็นหนึ่งในนักร้องหญิงที่ร่วมขับร้องเพลงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
 
ขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ถวายหลายครั้ง ขณะทรงพระประชวลประทับในศิริราช โดยถ่ายทอดสดจากหอสมุดดนตรีภูมิพล ในหอสมุดแห่งชาติ
 
ได้ร้องเพลงการกุศลในวาระเฉลิมพระเกียรติ์หลายครั้ง เช่น เพลงฝนหลวงพระราชทาน, เพลินภูพาน, อัครศิลปิน
 
ได้ร้องเพลงประจำสถาบันหลายแห่ง เช่น เพลงชุดมหิดล, จุฬา, ธรรมศาสตร์, เชียงใหม่, รามคำแหง, บูรพา, ศิริราช, รามาธิบดี, ธรรมะสันติอโศก และเพลงประจำโรงเรียน ต่างๆหลายแห่ง
 
ได้แต่งเพลงและร้องในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยนานาชาติ ครั้งที่10
 
เพลงมาร์ชปณิธานราม ร่วมแต่งกับ ชัยรัตน์ วงศ์เกียรติ์ขจร และ ดร.ศรีจักร วัชรเกียรติ์
 
รวมผลงานร้องเพลงบันทึกแผ่นเสียง และบันทึกการแสดงสด ไม่น้อยกว่า 300 เพลง
 
ผลงานบันทึกเสียง ล่าสุด ชื่อเพลง สายลม ประกอบละคร บุญผ่อง ทางช่อง Thai PBS ทำนองของ Hideki Mori
 
และ เพลง อินทนนท์ 2564
 
 
 
3.งานสอน ถ่ายทอดศิลปะ
 
สอนการร้องเพลงเพื่อสุขภาพ การพัฒนาบุคคลิกภาพด้วยการฝึกร้องเพลง ให้องค์กร เช่น บริษิทน้ำมันบางจาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
เดินสายร้องเพลงและบรรยาย ร่วมกับ ชินกร ไกรลาส เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชนต่างจังหวัด
 
เดินสายร้องเพลงและบรรยาย กับศุ บุญเลี้ยง
 
 
4.งานแสดงในต่างประเทศ
 
เดินทางไปสหรัฐอเมริกา สองครั้ง ครั้งละ สองเดือน จัดงานร้องเพลงการกุศลให้ชาวไทยในสหรัฐอเมริกา กับ เพ็ญศรี พุ่มชูศรี สวลี ผกาพันธ์ รุ่งฤดี แพ่งผ่องใส มีศักดิ์นาครัตน์ และอดิเรก จันทร์เรือง พร้อมด้วย สุวัฒน์ วรดิลก นายกสมาคมนักเขียน
 
การประกวดเพลง Tokyo World Popular Song Festival
 
การประกวดเพลง Kulalumper World Kite Song Festival
 
 
5.รวมรางวัล เกียรติคุณ
 
5.1 รางวัลที่สามในงานวาดภาพ ระดับประถมต้น จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการ สมัย มล. ปิ่น มาลากุล แสดงในบริเวณรร เตรียมอุดมศึกษา พญาไท
 
2503 งานแสดงศิลปะหัตถกรรมนักเรียน เมื่ออายุ 10 ปี
 
5.2 รางวัล ทีวีตุ๊กตาทองมหาชน สองปีซ้อน 2526 และ 2527 นักร้องยอดนิยม เพลงคนจน ไม่มีสิทธิ์ และเดินชมดอย
 
5.3 รางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน ครั้งที่ 5 ปี 2526 เพลง คนจนไม่มีสิทธิ์
 
5.4 รางวัลเพลงดีเด่น เพลงเพลินไพร งาน Thailand Popular song Festival 2526
 
5.5 รางวัลเพลงยอดเยี่ยม งาน Thailand Popular Song Festival 2527 เพลง สู่สันติภาพ
 
5.6 รางวัลนักร้องยอดเยี่ยม Popular Vote Singer 2527 เพลงสู่สันติภาพ Thailand Popular Song Festival
 
5.7 รางวัลเพลงดีเด่น เพลงชีวิต Thailand Popular Song Festival 2527
 
5.8 รางวัลรองชนะเลิศ เพลงสดุดีออมสิน งาน 72ปี ธนาคารออมสิน 2528
 
5.9 รางวัลชนะเลิศ เพลง โดมเริงใจ งาน 50ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
5.10 รางวัลรองชนะเลิศ เพลง เลือดธรรมศาสตร์ไม่จาง งาน 50ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
5.11 รางวัลวิทยานิพนดีเด่น รุ่น9 ปปร จากสถาบันพระปกเกล้า เรื่องเพลงการเมือง 2550
 
5.12 รางวัล 25 แพทย์ต้นแบบ ในวาระ 50ปี แพทยสภา ปี 2561
 
5.13 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 2550 อิสริยาภรณ์ มงกุฎไทย ชั้น 4 ในรัชกาลที่ 9
 
5.14 รับพระราชทานเข็ม สก จาก สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ ในการห่รายได้เพื่อศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ในโรงพยาบาลรามาธิบดี
 
5.15 รางวัลพระพิฆเนศทอง 2553 เพลงบัวบาน
 
เริ่มต้นการร้องเพลงประกวดระดับมหาวิทยาลัยในตำแหน่งนักร้องนำวงดนตรีคณะวิทยาศาสตร์ The Science ได้รับรางวัลวงดนตรีชนะเลิศของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2513 จากการชักนำไปออกรายการร้องเพลงทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม โดยศาสตราจารย์ นายแพทย์ พูนพิศ อมาตยกุล บันทึกเสียงร้องเพลงไทยเดิมชุดลาวดวงเดือน เป็นครั้งแรก และ ชุดที่สองคือเพลงของ ว.วัชญาน์ ชุด เธอรักฉันอย่างไร เธอโด่งดังจากเพลง "[[เทพธิดาดอย]]" ในปี 2523 จากภาพยนตร์ชื่อเรื่องเดียวกัน โดย จิรบันเทิงฟิล์ม ของ [[จีรวรรณ กัมปนาทแสนยากร]] นำแสดงโดย [[ไกรสร แสงอนันต์]], [[เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์]] เพลงคนจนไม่มีสิทธิ์เจ็บป่วยทำให้เธอได้รับรางวัลนักร้องแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน เธอออกแผ่นเสียงอัลบั้มเต็มชื่อชุด "วิมานทราย" ประพันธ์โดยวราห์ วรเวช และ เรียบเรียงเสียงประสานโดยพิมพ์ปฏิภาณ พึ่งธรรมจิต จากนั้นได้บันทึกเสียงกับทาง อีเอ็มไอ (ประเทศไทย) ในชื่อชุด "เดินชมดอย" ประพันธ์โดย วินัย รุ่งอนันต์ และบันทึกเสียงเพลงชุดสุนทราภรณ์ สองชุด คือหงษ์เหิร และ หงษ์สบัดบาป
 
6 จิตรอาสา
ในปี พ.ศ. 2526 เธอเป็นนักร้องคนแรกที่[[แกรมมี่]] ภายใต้การดำเนินงานของ[[เรวัต พุทธินันทน์]] ออกผลงานในชื่อชุด "นิยายรักจากก้อนเมฆ" เป็นผลงานการเขียนคำร้องทั้งชุดโดย [[บุษบา ดาวเรือง]] ส่วนดนตรีและทำนองประพันธ์โดย วิชัย อึ้งอัมพร และควบคุมการผลิตโดย เรวัต พุทธินันทน์ เพลง "นิยายรักจากก้อนเมฆ" ได้รับการตอบรับที่ดีจากผู้ฟังทางวิทยุแต่ยอดขายเทปไม่ดีนัก ต่อมาในปี พ.ศ. 2528 ออกผลงานชุดสุดท้าย ในงานเขียนคำร้องโดย กรวิก และ พนัส หิรัญกสิ ดนตรีเรียบเรียงเสียงประสานโดย ปราจีน ทรงเผ่า ควบคุมการผลิตโดย เรวัต พุทธินันทน์
 
ร่วมกับจักษุแพทย์ เดินทางไปผ่าตัด ตรวจ รักษา ในถิ่นธุรกันดาน และ สนับสนุนโดย สโมสรโรตารี่
เธอเป็นหนึ่งในนักร้องหญิงที่ร่วมขับร้องเพลงเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ปัจจุบันเป็นแพทย์ที่คลินิกตรวจนักศึกษาและอาจารย์ที่[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ท่าพระจันทร์<ref>http://www.oknation.net/blog/kilroy/2008/09/08/entry-1</ref>
 
สอนการร้องเพลง ดนตรีบำบัด ให้ผู้ป่วย และประชาชนทั่วไป
ได้ร้องเพลงการกุศลในวาระเฉลิมพระเกียรติ์หลายครั้ง เช่น เพลงฝนหลวงพระราชทาน, เพลินภูพาน, อัครศิลปิน ได้ร้องเพลงประจำสถาบันหลายแห่ง เช่น เพลงชุดมหิดล, จุฬา, ธรรมศาสตร์, เชียงใหม่, รามคำแหง, บูรพา, ศิริราช, รามาธิบดี, ธรรมะสันติอโศก และเพลงประจำโรงเรียน ได้แต่งเพลงและร้องในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยนานาชาติ และเพลงมาร์ชปณิธานราม ร่วมแต่งกับ ชัยรัตน์ วงศ์เกียรติ์ขจร และ ดร.ศรีจักร วัชรเกียรติ์ รวมผลงานร้องเพลงบันทึกแผ่นเสียง และบันทึกการแสดงสด ประมาณ 300 เพลง
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}