ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Kirito (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2001:FB1:7D:6857:8DB8:7B49:CD90:2309 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย JBot
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 99:
กองทัพสถาปนาตนเป็นผู้ปกครองโดยส่งเสริมสถานภาพ ขอบเขตอำนาจ งบประมาณและกำลังคน นอกจากนี้ยังเพิ่มภาวะครอบงำตามกลไกรัฐธรรมนูญโดยลดอิทธิพลของพรรคการเมืองและประชาสังคม<ref name="trans">Kongkirati, P., & Kanchoochat, V. (2018). The Prayuth Regime: Embedded Military and Hierarchical Capitalism in Thailand. ''TRaNS: Trans -Regional and -National Studies of Southeast Asia'', 6(2), 279-305. doi:10.1017/trn.2018.4</ref>{{rp|279–280}} วิสัยทัศน์ของผู้นำคณะรัฐประหารนั้นมองว่ารัฐประหารเป็นไปเพื่อพิทักษ์อำนาจและผลประโยชน์ที่สั่นคลอนเนื่องจากสามปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยการสืบราชสันตติวงศ์ ปัจจัยพรรคการเมืองฝ่ายทักษิณที่ชนะการเลือกตั้งทุกครั้งนับแต่ปี 2544 และการถือกำเนิดของการเมืองมวลชน<ref name="trans"/>{{rp|281}} ผู้นำคณะรัฐประหารยังมุ่งจัดอำนาจกองทัพตั้งมั่นในระบบการเมืองไทยระยะยาวโดยรวบโครงสร้างของรัฐเข้าสู่ศูนย์กลาง นับว่าแตกต่างจากรูปแบบการแบ่งปันอำนาจระหว่างกองทัพกับนักธุรกิจในสมัยพลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] ที่เรียก "ประชาธิปไตยครึ่งใบ"<ref name="trans"/>{{rp|282}}
 
== ระบอบเผด็จการ ==
{{ดูเพิ่มที่|การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประยุทธ์ จันทร์โอชา}}
{{familytree/start|style=font-size: 100%;float: center}}
*
{{familytree| | | | | | | | | PY | | | | | | PY=[[ประยุทธ์ จันทร์โอชา]]<br />หัวหน้าคณะรัฐประหาร}}
{{familytree| |,|-|-|-|v|-|-|-|+|-|-|-|v|-|-|.|}}
{{familytree| NPCO || CAB || NLA || NRC || CDC | NPCO=[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] | CAB=[[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61|คณะรัฐมนตรี]] | NLA=[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] | NRC= [[สภาปฏิรูปแห่งชาติ]] | CDC=คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ}}
{{familytree/end}}
 
* คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เป็นองค์การทรงอำนาจที่สุดหลังรัฐประหาร ซึ่งคณะรัฐประหารควบคุมอย่างเบ็ดเสร็จ มีการกำหนดให้หัวหน้าคณะ (พลเอกประยุทธ์) ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในช่วงที่ยังไม่มีนายกรัฐมนตรี และกำหนดตัวสมาชิกดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงต่าง ๆ พลเอกประยุทธ์ตั้งต้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทนการมอบอำนาจให้ผู้อื่นเช่นใน[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหารปี 2549]] จนถึงวันที่ 22 พฤษภาคม 2562 คสช. ออกประกาศ 132 ฉบับ คำสั่ง 214 ฉบับ และคำสั่งหัวหน้า คสช. อีก 207 ฉบับ<ref>[https://www.tlhr2014.com/?p=12492 5 ปี คสช. พอได้หรือยัง?: ข้อเสนอว่าด้วยการจัดการผลพวงรัฐประหาร]</ref>
* [[คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 61|คณะรัฐมนตรีประยุทธ์]] ประกอบด้วยนายทหารเป็นส่วนใหญ่ โดยมีทหารควบคุมกระทรวงสำคัญ ๆ นอกเหนือจากกระทรวงด้านความมั่นคงอย่างเดียว จนสุดท้ายเกิดความไร้สามารถและความผิดพลาดร้ายแรงจนต้องเปลี่ยนตัวรัฐมนตรีเป็นพลเรือนที่มีความสามารถมากกว่าแทน<ref name="trans"/>{{rp|284}}
* [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] (สนช.) เป็น[[สภาตรายาง]]ของคณะรัฐประหาร ในบรรดาสมาชิกจากการแต่งตั้ง 250 คน เป็นทหาร 145 คน (58%) ซึ่งมีผู้บัญชาการเหล่าทัพทุกเหล่าทัพทุกนายตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมาด้วย นอกจากนี้ยังมี[[คติเห็นแก่ญาติ]] คือมีการแต่งตั้งอดีตผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมรุ่น จปร. และน้องชายของประยุทธ์ด้วย นับเป็นการตั้งตระกูลการเมืองในระบอบทหาร<ref name="trans"/>{{rp|285}} สภานี้คล้ายกับข้อเรียกร้องสภาประชาชนเพื่อปฏิรูปประเทศของ กปปส.<ref name = "bloomberg">{{cite web | author = Anuchit Nguyen and Suttinee Yuvejwattana | title = Thai junta retains sweeping power under interim constitution | url = http://www.bloomberg.com/news/2014-07-22/thailand-junta-retains-sweeping-power-under-interim-constitution.html | publisher = Bloomberg News | date = 2014-07-23 | accessdate = 2014-07-27 }}</ref> มีการยุบสภาดังกล่าวในปี 2558 หลัง สนช. ลงมติคัดค้านร่างรัฐธรรมนูญ
* [[สภาปฏิรูปแห่งชาติ]]มีสมาชิกจากการแต่งตั้ง 250 คนเพื่อประมวลข้อเสนอการปฏิรูปประเทศ เป็นสภาที่ไม่มีอำนาจ แต่เป็นวิธีของ คสช. ในการตอบแทนขบวนการต่อต้านทักษิณในประชาสังคมและสังคมการเมืองซึ่งเปิดทางให้รัฐประหารครั้งนี้<ref name="trans"/>{{rp|286}} เพื่อให้คนเหล่านี้มีพื้นที่สาธารณะในการแสดงข้อเรียกร้องของพวกตน สมาชิกสภาฯ นี้มองเห็นโอกาสในการผลักดันวาระของพวกตน และช่วยค้ำจุนระบอบรัฐประหารโดยการประสานงานกับคนหลายกลุ่ม และสร้างฐานสนับสนุนในสังคม<ref name="trans"/>{{rp|286}}
 
== ผลลัพธ์ ==