ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยามพิวรรธน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎อ้างอิง: เพิ่มแม่แบบที่เกี่ยวข้อง
→‎ประวัติ: เพิ่มความร่วมมือในนามกลุ่มพลังสยาม
บรรทัด 28:
 
เมื่อโรงแรมดังกล่าวดำเนินการมาครบ 30 ปี บริษัทได้ดำริที่จะสร้างศูนย์การค้าใหม่ในพื้นที่ดังกล่าว จึงได้ยุติการดำเนินกิจการโรงแรมเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545 หลังจากนั้นจึงดำเนินการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างเดิมทั้งหมด และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น "บริษัท สยามพิวรรธน์ จำกัด" ซึ่งเป็นชื่อที่ได้รับพระราชทานจาก[[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2546 โดยพื้นที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของศูนย์การค้า[[สยามพารากอน]]
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2558 สยามพิวรรธน์ได้รวมตัวกับกลุ่มธุรกิจ[[สยามสแควร์]] และ[[เอ็มบีเค|บริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน)]] ก่อตั้ง[[สมาคมการค้าพลังสยาม]]ขึ้น เพื่อพัฒนาศูนย์การค้าใน[[ย่านสยาม]]ให้เป็นย่านค้าปลีกระดับโลก<ref name=":0">{{Cite web|last=|first=|date=2015-10-02|title=3 ยักษ์ค้าปลีก ผนึก 'พลังสยาม' เทียบชั้นมหานครใหญ่|url=https://www.voicetv.co.th/watch/266157|url-status=live|access-date=2021-02-27|website=[[วอยซ์ทีวี]]|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2015-09-30|title=พันธมิตรพลังสยามผนึกกำลังครั้งประวัติศาสตร์ ผลักดัน “ย่านสยาม” ยุทธศาสตร์สำคัญทางเศรษฐกิจการค้า|url=http://www.siam-synergy.com/th/topics/siam-district-collaboration/|url-status=live|access-date=2021-02-27|website=สมาคมการค้าพลังสยาม}}</ref> สยามพิวรรธน์จึงได้รับเงินจำนวน 4,300 ล้านบาท เพื่อใช้ในการปรับปรุงพื้นที่ศูนย์การค้ากลุ่มวันสยาม เช่น ปรับปรุงสยามดิสคัฟเวอรี<ref>[http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9580000037704 ยกเครื่องสยามดิสคัฟเวอรี่ 4 พันล้าน]</ref><ref>[http://www.bangkokbiznews.com/pr/detail/10389 ‘สยามพิวรรธน์’ เปิดคอนเซ็ปต์ค้าปลีกรูปแบบใหม่]</ref> ปรับปรุงร้านอาหารในสยามพารากอน<ref>{{Cite web|last=|date=2016-11-30|title=สยามพารากอนจัดเต็ม รวมร้านอาหารและขนมหวานคุณภาพระดับโลกไว้ที่เดียว ไปลุยกันเลย!! {{!}} กินกับพีท|url=https://www.eatwithpete.com/siam-paragon-2016/|url-status=live|access-date=2021-02-27|website=กินกับพีท|language=th}}</ref>
 
ตามข้อมูลจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า [[กระทรวงพาณิชย์ (ประเทศไทย)|กระทรวงพาณิชย์]] เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ผู้ถือหุ้นของสยามพิวรรธน์ ประกอบด้วย [[เอ็มบีเคเซ็นเตอร์|บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน)]] ถือหุ้นใหญ่สุด 47.9771% กลุ่มบุคคลไม่เปิดเผยนาม 24.8523% [[ธนาคารกรุงเทพ]] 5.1943% [[ธนาคารกสิกรไทย]] 5.0969% นอกนั้นเป็นผู้ถือหุ้นรายอื่นๆ<ref>[https://www.isranews.org/isranews-scoop/71041-report01_71041.html ขุมข่ายธุรกิจ 'ไอคอนสยาม' แสนล.! หลังฉากการลงทุน 2 ยักษ์ใหญ่ 'สยามพิวรรธน์-ซีพี.']</ref> งานวิจัยเรื่อง "สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์กับการลงทุนทางธุรกิจ" กล่าวว่า [[สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์]] เป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นของบริษัท<ref>[https://www.bbc.com/thai/thailand-40654502 เปิดงานวิจัย ความเป็นมา "สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์"]</ref>
เส้น 38 ⟶ 40:
==== วันสยาม ====
ในปี พ.ศ. 2561 สยามพิวรรธน์ได้เปิดตัวเครื่องหมายการค้า "วันสยาม" สำหรับเรียกกลุ่มธุรกิจศูนย์การค้าและอาคารสำนักงานของบริษัทที่ตั้งอยู่ในพื้นที่[[ย่านสยาม]] ทางตอนเหนือของ[[ถนนพระรามที่ 1]] [[เขตปทุมวัน]] โดยประกอบด้วยสมาชิกดังนี้
* [[สยามเซ็นเตอร์]]
* [[สยามดิสคัฟเวอรี]]
* [[สยามเซ็นเตอร์]]
* [[สยามพารากอน]] (ร่วมทุนกับ [[กลุ่มเดอะมอลล์]] ในนาม บริษัท สยามพารากอน ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด)