ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยามดิสคัฟเวอรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เพิ่มความร่วมมือในนามกลุ่มพลังสยาม
บรรทัด 16:
สยามดิสคัฟเวอรีเปิดตัวเมื่อเมษายน พ.ศ. 2540 ในช่วง[[วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540|วิกฤตเศรษฐกิจแห่งเอเชีย]] เป็นศูนย์การค้าภายใต้แนวคิด "Lifestyle shopping" ในแต่ละชั้นจะนำเสนอสินค้าประเภทเดียวหรือแนวคิดเดียว (One Floor One Concept) ซึ่งนำต้นแบบมาจาก[[เอ็มโพเรียม]] และต่อมา[[สยามพารากอน]]ได้นำรูปแบบนี้มาใช้ในการบริหารศูนย์การค้าด้วย
 
จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2558 มีลูกค้าวันละ 80,000 คน<ref>[http://www.thairath.co.th/content/494752 เตรียมเงินให้ตุงกระเป๋า! 10 ข้อ รู้ก่อนช็อป ส่งท้ายสยามดิสฯ ปิดปรับปรุง]</ref> และในปีเดียวกันนี้[[สยามพิวรรธน์]] ได้รวมตัวกับกลุ่มธุรกิจ[[สยามสแควร์]] และ[[เอ็มบีเค|บริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน)]] ก่อตั้ง[[สมาคมการค้าพลังสยาม]]ขึ้น เพื่อพัฒนาศูนย์การค้าใน[[ย่านสยาม]]ให้เป็นย่านค้าปลีกระดับโลก<ref name=":0">{{Cite web|last=|first=|date=2015-10-02|title=3 ยักษ์ค้าปลีก ผนึก 'พลังสยาม' เทียบชั้นมหานครใหญ่|url=https://www.voicetv.co.th/watch/266157|url-status=live|access-date=2021-02-27|website=[[วอยซ์ทีวี]]|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2015-09-30|title=พันธมิตรพลังสยามผนึกกำลังครั้งประวัติศาสตร์ ผลักดัน “ย่านสยาม” ยุทธศาสตร์สำคัญทางเศรษฐกิจการค้า|url=http://www.siam-synergy.com/th/topics/siam-district-collaboration/|url-status=live|access-date=2021-02-27|website=สมาคมการค้าพลังสยาม}}</ref> สยามพิวรรธน์มีโครงการจึงได้รับเงินจำนวน 4,000 ล้านบาท ในการปรับปรุงศูนย์การค้าสยามดิสคัฟเวอรีให้มีความแตกต่างจากศูนย์การค้าอื่น ๆ ในย่านเดียวกัน โดยมีแนวความคิดใหม่คือ "สนามทดลองความคิด" (Experiment Playground) โดยได้เริ่มปรับปรุงการตกแต่งอาคารตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 และเปิดให้บริการอีกครั้งในวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2559<ref>[http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9580000037704 ยกเครื่องสยามดิสคัฟเวอรี่ 4 พันล้าน]</ref><ref>[http://www.bangkokbiznews.com/pr/detail/10389 ‘สยามพิวรรธน์’ เปิดคอนเซ็ปต์ค้าปลีกรูปแบบใหม่]</ref>
 
== การจัดสรรพื้นที่ ==