8,023
การแก้ไข
ล |
(→อนาคต: ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยขึ้น) |
||
ธุรกิจในสยามสแควร์มีความหลากหลาย มีการทดลองสินค้าและกิจกรรมการตลาดที่แปลกใหม่และเข้มข้นที่สุดแห่งหนึ่ง มีจำนวนคนเดินในสยามสแควร์ในวันธรรมดาเฉลี่ยวันละ 20,000 คน วันหยุดไม่ต่ำกว่า 50,000 คน ซึ่งแต่ละคนมีกำลังซื้อเฉลี่ย 1,000 บาท/ครั้ง/คน
สยามสแควร์ในปัจจุบันมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายนอก รูปแบบอาคารอยู่เสมอ แต่[[ระบบสาธารณูปโภค]]ต่าง ๆ รวมถึงภูมิทัศน์ มีการเพิ่มการแพร่ภาพสื่อผ่านทางจอ[[โทรทัศน์]]ทั่วสยามสแควร์ และทางสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาโครงการศึกษาผังแม่บทสยามสแควร์ขึ้นอย่างจริงจัง และโครงการหลังจาก[[เซ็นเตอร์พอยท์]]ได้หมดสัญญาลงไป ก็คือโครงการ "
สยามสแควร์มีอิทธิพลต่อ[[วัฒนธรรมสมัยนิยม]]ของไทย โดยมีภาพยนตร์ที่มีฉากหรือเนื้อหาเกี่ยวกับสยามสแควร์ เช่น ''[[รักแห่งสยาม]]'' และ ''[[สยามสแควร์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2560)|สยามสแควร์]]'' นอกจากนี้[[มิวสิกวิดีโอ]]ต่าง ๆ ก็นิยมใช้สยามสแควร์เป็นฉากในเรื่อง
มีการประเมินค่าทรัพย์สินทางด้านอสังหาริมทรัพย์ในไทย โดยทำการสำรวจการเปลี่ยนแปลงราคาที่ดินในเขต[[กรุงเทพ]] และปริมณฑล ในปี พ.ศ. 2549 โดยบริเวณสยามแควร์มีราคาสูงสุดที่ตารางวาละ 640,000 บาท เพิ่มขึ้นถึง 16.4% จากที่ในปี พ.ศ. 2548 สำหรับอันดับทำเลที่ดินราคาแพงรองลงมาคือ อันดับ 2 ย่าน[[เยาวราช]] ตารางวาละ 630,000 บาท ซึ่งเคยเป็นบริเวณที่มีราคาที่ดินแพงที่สุดมาโดยตลอด อันดับที่ 3 คือ [[ถนนสีลม]] ราคาตารางวาละ 560,000 บาท โดยสาเหตุที่ศักยภาพทำเลย่านสยามสแควร์เติบโตเร็ว เพราะนอกจากมีรถไฟฟ้าผ่านแล้ว ยังมีการพัฒนา มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ มากกว่าทำเลอื่น ๆ<ref>[http://www.businessthai.co.th/content.php?data=412138_ ที่ดินสยามราคาพุ่งวาเฉียด “ล้าน”] โดย บิสิเนสไทย 20-9-2007</ref>
31 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ถือเป็นวันสิ้นสุดสัญญาเช่าของบริษัท พรไพลิน ในการเช่าพื้นที่บริเวณเซ็นเตอร์พ้อยท์ และสำนักทรัพย์สินจุฬาฯ ได้เปิดประมูลพื้นที่ใหม่<ref name="จากสลัม2" /> โดยมีการจัดงานอำลาในชื่องานว่า "เซ็นเตอร์พ้อยท์ อินฟินีตี้ ปาร์ตี้" เมื่อวันที่ 14-15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยในงานมีการปิดถนนหน้า เซ็นเตอร์พ้อยท์ (สยามสแควร์ซอย 7) และจัดคอนเสิร์ต 2 เวที มีศิลปิน นักร้อง [[ดีเจ]] [[วีเจ]] มาร่วมงานร่วม 300 คน<ref>[http://www.newswit.com/news/2007-12-18/0302-6d000e3761e4da7a1415319a3916cc90/ อำลา "เซ็นเตอร์ พ้อยท์" ปาร์ตี้สุขปนเศร้า วัยรุ่นนับหมื่นตบเท้าเข้าร่วมงาน] newswit.com</ref><ref>[http://www.centerpoint108.com/friend/centerpoint_news_index.asp?id=144 “เซ็นเตอร์พ้อยท์ฯ” เตรียมปิดพื้นที่ จัดงานอำลาใหญ่ส่งท้ายปี] centerpoint108.com</ref> และภายหลังจากนี้อีกไม่กี่เดือน จะมีการก่อสร้างอาคารแบบใหม่ ในคอนเซ็ปต์ "
จากข้อมูลเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 ข้อมูลผลสำรวจราคาที่ดินในกรุงเทพโดยการสำรวจของเอเจนซี ฟอร์ เรียลเอสเตท สยามสแควร์ยังมีราคากลางสูงสุดที่ 8 แสนบาท/ตร.วา ส่วนซื้อขายจริง 9.5 แสนบาท/ตร.วา<ref>หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 26 กันยายน 2551 หน้า 1</ref>
หลังจากที่พื้นที่ 1 ไร่เศษของลาน[[เซ็นเตอร์พ้อยท์]]ระหว่างซอย 3 และซอย 4 ได้หมดสัญญาลง จึงได้ดำเนินตามผังแม่บทใหม่มีการเปิดประมูลให้เอกชนรายใหม่เข้ามาพัฒนาพื้นที่<ref name="ทศวรรษใหม่2">วัฒนะชัย ยะนินทร, [http://www.positioningmag.com/Magazine/Details.aspx?id=63911 ทศวรรษใหม่... สยามสแควร์] Positioning Magazine ตุลาคม 2550</ref> โดยได้สร้างเป็น "
จากปัญหาที่จอดรถไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ทางจุฬาฯ จึงได้ตัดสินใจใช้พื้นที่บริเวณบล็อก L ที่อยู่ตรงข้ามโรงแรมโนโวเทล โดยใช้ชื่อว่า
ต่อมาสยามสแควร์ได้มีโครงการวีวาทาวน์
[[ไฟล์:SiamSQCen.JPG|thumb|300x300px|ด้านหน้าของสยามสแควร์วัน]]
ในปี พ.ศ. 2557 เปิดโครงการชื่อ ''[[สยามสแควร์วัน]]'' ด้วยพื้นที่กว่า 8 ไร่ มีพื้นที่รวมโครงการ 74,000 ตารางเมตร (บนพื้นที่ทำเลเดิมคือ ในพื้นที่บริเวณ Block E และ D2 ของศูนย์การค้าสยามสแควร์ และโรงภาพยนตร์สยามเก่าซึ่งถูกไฟไหม้ในปี พ.ศ. 2553) โดยเป็นศูนย์การค้าที่มีร้านค้าประเภท
ต่อมา ค่ายเพลง[[เลิฟอีส]] ได้เข้ามาบริหารพื้นที่โรงภาพยนตร์ลิโดเดิมแทนเครือเอเพ็กซ์ ในชื่อใหม่คือ ลิโด้ คอนเน็กต์ และรีโนเวทพื้นที่บางส่วนให้รองรับกิจกรรมที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น<ref>{{Cite web|date=2018-12-19|title="เลิฟอิส"ปลุกชีพ"ลิโด้"|url=https://mgronline.com/business/detail/9610000125549|url-status=live|access-date=2021-03-01|website=[[ผู้จัดการออนไลน์]]}}</ref> โดยเปิดใช้งานในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2562<ref>{{Cite web|last=|date=2019-08-07|title=LIDO CONNECT ชีวิตใหม่ของโรงหนังที่หลายคนรัก|url=https://www.prachachat.net/spinoff/entertainment/news-358332|url-status=live|access-date=2021-03-01|website=[[ประชาชาติธุรกิจ]]|language=th}}</ref>
=== อนาคต ===
▲บริเวณโรงภาพยนตร์ลิโด้ ซึ่งหมดสัญญาเช่าในปี พ.ศ. 2556 จะพัฒนาเป็นโครงการค้าปลีก และเฟส 3 บริเวณโรงภาพยนตร์สกาล่าที่จะหมดสัญญาในปี พ.ศ. 2559 จะพัฒนาเป็นโครงการค้าปลีก โดยเฟส 1 และ 2 จะมีการเว้นระยะเวลา 2 ปี จึงจะเริ่มพัฒนาโครงการใหม่ ส่วนเฟส 3 คาดว่าจะหาภาคเอกชนมาร่วมด้วยเนื่องจากต้องใช้งบประมาณลงทุนสูงในการทำโครงการ<ref>[http://www.thaipost.net/x-cite/140312/53979 เตรียมไล่รื้อสยามสแควร์ทำช็อปตึกสูง] thaipost.net</ref>
ในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558 กลุ่มธุรกิจสยามสแควร์ได้รวมตัวกับ[[สยามพิวรรธน์]] และ[[เอ็มบีเค|บริษัท เอ็มบีเค จำกัด (มหาชน)]] ก่อตั้ง[[สมาคมการค้าพลังสยาม]]ขึ้น เพื่อพัฒนาศูนย์การค้าใน[[ย่านสยาม]]ให้เป็นย่านค้าปลีกระดับโลก<ref name=":0">{{Cite web|last=|first=|date=2015-10-02|title=3 ยักษ์ค้าปลีก ผนึก 'พลังสยาม' เทียบชั้นมหานครใหญ่|url=https://www.voicetv.co.th/watch/266157|url-status=live|access-date=2021-02-27|website=[[วอยซ์ทีวี]]|language=th}}</ref><ref>{{Cite web|date=2015-09-30|title=พันธมิตรพลังสยามผนึกกำลังครั้งประวัติศาสตร์ ผลักดัน “ย่านสยาม” ยุทธศาสตร์สำคัญทางเศรษฐกิจการค้า|url=http://www.siam-synergy.com/th/topics/siam-district-collaboration/|url-status=live|access-date=2021-02-27|website=สมาคมการค้าพลังสยาม}}</ref> สยามสแควร์จึงได้รับเงินเพิ่มจำนวน 3,000 - 4,000 ล้านบาท เพื่อพัฒนาโครงการในอนาคตดังนี้
* พัฒนาอาคารสยามกิตติ์เป็นโรงแรมระดับ 3 ดาว บริหารโดยกลุ่มพรินซิเพิล แคปิตอล จำนวน 300 ห้อง มีมูลค่าการลงทุนราว 1,000-2,000 ล้านบาท<ref name="buildernews2" /><ref>{{Cite web|last=|date=2019-10-11|title=จุฬาเท 6.2 พันล้าน ผุดโครงการมิกซ์ยูส ดึงเอกชนร่วมทุน“ศูนย์สุขภาพ-รพ."|url=https://www.prachachat.net/property/news-379720|url-status=live|access-date=2021-02-27|website=[[ประชาชาติธุรกิจ]]|language=th}}</ref>
* สร้างอาคารสำนักงานแห่งใหม่บริเวณหัวมุมตะวันออกเฉียงใต้ของแยกปทุมวัน ในชื่อ [[สยามสเคป]]<ref name=":2">{{Cite web|last=|date=2019-11-07|title=เติมเสน่ห์ สยามสแควร์ สร้าง "Value Added" ทุก ตร.ม.|url=https://www.prachachat.net/marketing/news-388785|url-status=live|access-date=2021-02-27|website=[[ประชาชาติธุรกิจ]]|language=th}}</ref>
* สร้างอาคารจอดรถบริเวณร้านสุกี้แคนตัน เพื่อรองรับรถเพิ่มอีก 700 คัน รองรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ<ref name=":2" />
== ธุรกิจ ==
=== อื่น ๆ ===
สำหรับธุรกิจอย่างอื่นที่ได้รับความนิยมอย่างเช่น ร้านถ่ายรูปที่ได้รับความนิยมอย่างมากในช่วงปี พ.ศ. 2543-2544 ที่เป็นการถ่ายแบบสนุกสนาน ได้รับความนิยมในหมู่วัยรุ่น ถึงแม้ความคึกคักในธุรกิจประเภทนี้จะลดลง อันด้วยเทคโนโลยีการถ่ายภาพจาก[[กล้อง
นอกจากนั้นทางด้านธุรกิจหนังสือ สิ่งพิมพ์ เพราะสยามสแควร์ไม่เพียงแต่เป็นสถานที่ที่มีการแจกแผ่นพับ ใบปลิวประชาสัมพันธ์ทางการค้าอย่างกว้างขวาง จึงได้มีการเติบโตของกลุ่มหนังสือแจกฟรี ที่ได้รับการสนับสนุนจากธุรกิจโฆษณาสินค้าต่าง ๆ อีกที ก็เป็นที่ได้รับความนิยมจากกลุ่มวัยรุ่น ไม่ว่าจะเป็น ''You Are Here'' ที่ทำมานาน 3 ปี ที่กำลังต่อยอดไปยังนิตยสารออนไลน์ หรือนิตยสาร ''Centerpoint Magazine'' ที่แจกฟรีในเล่มแรกและประสบความสำเร็จดี เจ้าของก็ตัดสินใจทำเพื่อขาย โดยก็เริ่มทำเป็นนิตยสารรายเดือน และนิตยสารแจกฟรีอื่น ๆ เช่น ''BK แมกกาซีน'', ''Happening'' และ ''@Siam'' เป็นต้น<ref>สุกรี แมนชัยนิมิต , [http://www.positioningmag.com/Magazine/Details.aspx?id=64103 จุดนัดฝันคนทำหนังสือ] Positioning Magazine ตุลาคม 2550</ref>
|
การแก้ไข