ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาฬิกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8738981 โดย Potaptด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Wall_clock.jpg|thumb|นาฬิกาเวลามาตรฐานติดผนัง]]
 
'''นาฬิกา''' เป็นเครื่องมือสำหรับใช้บอก[[เวลามาตรฐานไทย]] โดยมากจะมีรอบเวลา 12 [[ชั่วโมง]] หรือ 24 ชั่วโมง สำหรับนาฬิกาทั่วไป มีเครื่องหมายบอกชั่วโมง [[นาที]] หรือ[[วินาที]] เครื่องมือสำหรับจับเวลาระยะสั้นๆ เรียกว่านาฬิกาจับเวลา เดิมนั้นเป็นอุปกรณ์เชิงกล มี[[เงินตราลาน (กลไก)|ROMAลาน]]หมุนขับเคลื่อนกำลัง และมีเฟืองเป็นตัวทดความเร็วให้ได้รอบที่ต้องการ และใช้เข็มบอกเวลา โดยใช้หน้าปัดเขียนตัวเลขระบุเวลาเอาไว้ ลักษณนามของนาฬิกา เรียกว่า “เรือน” แต่ก็มีนาฬิกาแบบอื่นๆ ซึ่งใช้บอกอีก เช่น นาฬิกาทราย ใช้จับเวลา, นาฬิกากะลา เป็นกะลาเจาะรูใช้จับเวลา โดยการลอยในน้ำ จนกว่าจะจมก็ถือว่าหมดเวลา, นาฬิกาแดด เป็นการตั้งเครื่องมือเพื่อให้สังเกตการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ โดยดูจากเงาของเครื่องมือ บางครั้งเราก็มีการบอกเวลาโดยใช้เครื่องมืออื่น ซึ่งไม่ได้เรียกว่าเป็น นาฬิกา เช่น การตีกลองบอกเวลาเพล ของพระสงฆ์, การตีฆ้องบอกเวลาของแขกยาม หรือการยิงปืนบอกเวลา เป็นต้น
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 15:
=== นาฬิกาดิจิตอล ===
นาฬิกาดิจิตอล จะแสดงตัวเลขของเวลาปัจจุบัน นาฬิกาดิจิตอลบางรุ่นมีเทคโนโลยีที่สามารถปรับจูนเวลาให้ตรงกับเวลาสากลโดยใช้อินเทอร์เน็ตได้โดยอัตโนมัติแต่ต้องใส่ถ่านและจับเวลาได้
 
=== Smart watch ===
สมาร์ทวอทช์คือ นาฬิกาข้อมือที่เป็นมากกว่าบอกเวลา ่ มาพร้อมฟังก์ชั่นอื่นๆที่สามารถใชงานได้หลากหลาย เช่น การสนทนาโทรศัพท์ผ่านทางนาฬิกา , การแสดงแผนที่และการนำทาง , เป็นรีโมทคุมเพลงบน Smartphone, เป็นกล้องถ่ายรูปในตัว แสดงปฎิทิน และเก็บข้อมูลการเดิน วัดอัตรการเต้นของหัวใจ วัดกิจกรรมการออกกำลังกายต่างๆได้เพื่อเป็นการช่วยดูแลสุขภาพของคุณ ซึ่งส่วนมากแล้วล้วนทพงานร่วมกับSmartphone ควบคู่กันไปผ่านการเชื่อมต่อ Bluetooth แต่ก็มีบางฟังก์ชั่น เช่นการเก็บข้อมูลเบื้องต้น สามารถใชงานแยกกับ Smartphone แล้วกลับมาส่งถ่ายข้อมูลไว้ใน Smartphone หากมีการเชื่อมต่อกนในภายหลังได้ นอกจากน้้นยังสามารถติดตั้งแอพลิเคชั่นเสริมเพิ่มเติมที่ออกแบบมาสำหรับใช้งานบน Smartwatch เพื่อลดสามารถตอบสนองความตองการในการเข้าถึง Application หรือคำสั่งบางคำสั่งได้จากการกดสั่งบนข้อมูลโดยไม่ต้องนำ Smartphone ออกมาใช้งาน <ref>{{Cite web|title=ประโยชน์ของ Smartwatch ที่คาดไม่ถึง|url=https://www.mercular.com/review-article/advantages-of-smart-watch|website=Mercular.com ร้านลำโพง หูฟัง ออนไลน์|language=en}}</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 23 ⟶ 20:
* [[นาฬิกาข้อมือ]]
* [[นาฬิกาจับเวลา]]
 
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* Baillie, G.H., O. Clutton, & C.A. Ilbert. ''Britten’s Old Clocks and Watches and Their Makers'' (7th ed.). Bonanza Books (1956).
* Bolter, David J. ''Turing's Man: Western Culture in the Computer Age''. The University of North Carolina Press, Chapel Hill, N.C. (1984). ISBN 0-8078-4108-0 pbk. Very good, readable summary of the role of "the clock" in its setting the direction of philosophic movement for the "Western World". Cf. picture on p.&nbsp;25 showing the ''verge'' and ''foliot''. Bolton derived the picture from Macey, p.&nbsp;20.
* Bruton, Eric. ''The History of Clocks and Watches''. London: Black Cat (1993).
* {{cite book | last = Dohrn-van Rossum | first = Gerhard | others = Trans. Thomas Dunlap | title = History of the Hour: Clocks and Modern Temporal Orders | year = 1996 | publisher = The University of Chicago Press | location = Chicago | isbn = 0226155102}}
* Edey, Winthrop. ''French Clocks''. New York: Walker & Co. (1967).
* Kak, Subhash, Ph.D. Babylonian and Indian Astronomy: Early Connections. February 17, 2003.
* Kumar, Narendra "Science in Ancient India" (2004). ISBN 81-261-2056-8.
* Landes, David S. ''Revolution in Time: Clocks and the Making of the Modern World''. Cambridge: Harvard University Press (1983).
* Landes, David S. ''Clocks & the Wealth of Nations'', [[Daedalus (journal)|Daedalus journal]], Spring 2003.
* Lloyd, Alan H. “Mechanical Timekeepers”, ''A History of Technology,'' Vol. III. Edited by Charles Joseph Singer et al. Oxford: Clarendon Press (1957), pp.&nbsp;648–675.
* Macey, Samuel L., ''Clocks and the Cosmos: Time in Western Life and Thought'', Archon Books, Hamden, Conn. (1980).
* {{cite book | last = Needham | first = Joseph | authorlink = Joseph Needham | title = Science & Civilisation in China, Vol. 4, Part 2: Mechanical Engineering | origyear = 1965 | year = 2000 | publisher = Cambridge University Press | location = Cambridge | isbn = 0521058031}}
* North, John. ''God's Clockmaker: Richard of Wallingford and the Invention of Time''. London: Hambledon and London (2005).
* Palmer, Brooks. ''The Book of American Clocks'', The Macmillan Co. (1979).
* Robinson, Tom. ''The Longcase Clock''. Suffolk, England: Antique Collector’s Club (1981).
* Smith, Alan. ''The International Dictionary of Clocks''. London: Chancellor Press (1996).
* Tardy. ''French Clocks the World Over''. Part I and II. Translated with the assistance of Alexander Ballantyne. Paris: Tardy (1981).
* Yoder, Joella Gerstmeyer. ''Unrolling Time: Christiaan Huygens and the Mathematization of Nature''. New York: Cambridge University Press (1988).
* Zea, Philip, & Robert Cheney. ''Clock Making in New England – 1725-1825''. Old Sturbridge Village (1992).
*ซูม. ''ตำนานนาฬิกาไทยแลนด์จากมิโด้ถึง "ริชาร์ด มิลด์"'' หน้า 5. ไทยรัฐปีที่ 69 ฉบับที่ 21926 (วันพฤหัสบดีที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 แรม 1 ค่ำ เดือน 3 ปีระกา)
{{จบอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commonscat-inline|Clocks|นาฬิกา}}
 
[[หมวดหมู่:เทคโนโลยี]]
[[หมวดหมู่:เวลา]]
[[หมวดหมู่:นาฬิกา]]
{{โครงเทคโนโลยี}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นาฬิกา"