ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกมุดน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nix Sunyata (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{taxobox |name=Brown dipper |image=Cinclus pallasii (side).JPG |image_caption=Immature |status=LC |status_system=IUCN3.1 |status_ref=<ref>{{cite iucn|url=https://www.iu...
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
 
Nix Sunyata (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
}}
 
นกมุดน้ำ ({{lang-en|The brown dipper หรือ Pallas's dipper}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Cinclus pallasii}}) เป็นชนิดเดียวในวงศ์นกมุดน้ำ (Cinclidae) ที่พบในประเทศไทยและมีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล นกมุดน้ำเป็นนกน้ำที่มีเสียงร้องไพเราะ มีถิ่นอาศัยใกล้ธารน้ำไหลที่สะอาดใสในแถบต้นน้ำบริเวณระดับกลางถึงล่างของเทือกเขา มีหางสั้น ขนสีน้ำตาลเข้มทั่วทั้งตัว มีพฤติกรรมชอบกระโดดลงไปในลำธาร ว่ายน้ำและดำน้ำเพื่อจับเหยื่อเหมือนนกทะเล และมักพบว่าใช้ชีวิตไม่ห่างจากน้ำโดยตลอด<ref name=":0">[https://ebird.org/species/brodip1?siteLanguage=th นกมุดน้ำ]. eBird. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2564.</ref>
 
== อนุกรมวิธาน ==
นกมุดน้ำได้รับการอธิบายโดยนักสัตววิทยาชาวดัตช์ Coenraad Jacob Temminck ในปีพ. ศ. 2363 และตั้งชื่อทวินามว่า ''Cinclus pallasii'‘<ref>{{cite book|last=Temminck|first=Coenraad Jacob|url=https://biodiversitylibrary.org/page/41001742|title=Manuel d'ornithologie, ou, Tableau systématique des oiseaux qui se trouvent en Europe|publisher=H. Cousin|year=1820|edition=2nd|volume=Part 1|place=Paris|page=177|language=fr|author-link=Coenraad Jacob Temminck}}</ref> ''ถิ่นกำเนิด (Type Locality) คือไซบีเรียตะวันออก<ref>{{cite book|url=https://biodiversitylibrary.org/page/14481053|title=Check-list of Birds of the World|publisher=Museum of Comparative Zoology|year=1960|editor1-last=Mayr|editor1-first=Ernst|editor1-link=Ernst Mayr|volume=Volume 9|place=Cambridge, Massachusetts|page=378|editor2-last=Greenway|editor2-first=James C. Jr}}</ref> ชื่อเฉพาะ ''"pallasii"'' ได้รับการตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ Peter Simon Pallas นักธรรมชาติวิทยาชาวปรัสเซีย (ค.ศ. 1741-1811)<ref name="hbwkey">{{cite web|last=Jobling|first=J.A.|year=2019|editor1-last=del Hoyo|editor1-first=J.|editor2-last=Elliott|editor2-first=A.|editor3-last=Sargatal|editor3-first=J.|editor4-last=Christie|editor4-first=D.A.|editor5-last=de Juana|editor5-first=E.|title=Key to Scientific Names in Ornithology|url=https://www.hbw.com/dictionary/definition/pallasii|access-date=9 February 2019|work=Handbook of the Birds of the World Alive|publisher=Lynx Edicions}}</ref> นกมุดน้ำมีถิ่นอาศัยใกล้แหล่งน้ำ มี 5 ชนิดทั่วโลก (''𝑪𝒊𝒏𝒄𝒍𝒖𝒔Cinclus 𝑪𝒊𝒏𝒄𝒍𝒖𝒔cinclus, 𝑪𝒊𝒏𝒄𝒍𝒖𝒔Cinclus 𝒑𝒂𝒍𝒍𝒂𝒔𝒊𝒊pallasii, 𝑪𝒊𝒏𝒄𝒍𝒖𝒔Cinclus 𝒎𝒆𝒙𝒊𝒄𝒂𝒏𝒖𝒔mexicanus, 𝑪𝒊𝒏𝒄𝒍𝒖𝒔Cinclus 𝒍𝒆𝒖𝒄𝒐𝒄𝒆𝒑𝒉𝒂𝒍𝒖𝒔leucocephalus, 𝑪𝒊𝒏𝒄𝒍𝒖𝒔Cinclus 𝒔𝒄𝒉𝒖𝒍𝒛𝒊𝒊schulzii'') แต่พบเพียงชนิดเดียวในประเทศไทย (''C. pallasii'') และจากการศึกษาทางพันธุกรรมระดับโมเลกุลของนกสกุลนกมุดน้ำ 5 ชนิดแสดงให้เห็นว่า นกมุดน้ำ (''C. pallasii'') มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับมากที่สุดกับนกมุดน้ำคอขาว (''Cinclus cinclus'') ที่อาศัยในยูเรเชีย''<ref>{{cite journal|last=Voelker|first=Gary|year=2002|title=Molecular phylogenetics and the historical biogeography of dippers (''Cinclus'')|journal=Ibis|volume=144|issue=4|pages=577–584|doi=10.1046/j.1474-919X.2002.00084.x}}</ref>''
 
=== ชนิดย่อย ===
บรรทัด 40:
== พฤติกรรมและนิเวศวิทยา ==
อาศัยและหากินในแหล่งน้ำที่ไหลแรงและคุณภาพดี พบได้ตามน้ำตกหรือลำธารขนาดใหญ่ ที่ระดับความสูง 200-1,000 เมตร มักพบโดดเดี่ยว โดยการยืนเกาะตามแก่งหินข้างลำธารที่มีน้ำไหลตลอดทั้งปี
 
นกมุดน้ำกินสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังและสัตว์จำพวกแมลง ตัวหนอน หรือไข่ปลาที่เกาะตามก้อนหิน โดยอาหารโปรดคือแมลงน้ำ นกมุดน้ำนี้สามารถมุดลงไปใต้น้ำ ใช้ปีกและขาพุ้ยน้ำ ให้เคลื่อนที่ไปตามทิศทางที่ต้องการ จากนั้นใช้ปากคาบเหยื่อ แล้วโผล่ขึ้นมาเหนือน้ำเพื่อกลืนอาหารและดำลงไปหาเหยื่อต่อไป จึงเป็นที่มาของชื่อนกมุดน้ำ การว่ายน้ำและดำน้ำเพื่อจับเหยื่อนี้คล้ายพฤติกรรมของนกทะเล<ref name=":0" /> ในช่วงพักผ่อนจะเกาะตามก้อนหินเพื่อตากแดดให้ขนแห้ง มักร้องเสียง "จี๊ด ๆ" เป็บจังหวะ<ref name=":0" />
การผสมพันธุ์ยังไม่พบรายงานการวางไข่ของนกมุดน้ำในประเทศไทย สันนิษฐานว่านกมุดน้ำเป็นนกอพยพมายังประเทศไทยในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ หรือในฤดูหนาว และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
 
นกมุดน้ำเป็นนกประจำถิ่นในประเทศไทยที่พบได้ยากมาก<ref>[https://dktnfe.com/web59/?p=2222 นกมุดน้ำ Brown Dipper.]<ref>[https://www.birdsofthailand.org/bird/brown-dipper นกมุดน้ำ Brown Dipper] Bird of Thailand: Siam Avifauna. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2564.</ref> ภาพถ่ายและรายชื่อนกทุกชนิดที่พบในประเทศไทย. 3 มกราคม 2562.</ref> มีรายงานการพบเพียงครั้งเดียวในช่วงเดือนธันวาคม 2543 บริเวณคลองวังเจ้า อุทยานแห่งชาติคลองเจ้า รอยต่อจังหวัดตากและกำแพงเพชร และนกมุดน้ำนี้เป็นหนึ่งในสิ่งมีชีวิตที่สามารถบ่งชี้สภาพของแหล่งน้ำได้ เนื่องจากสามารถพบได้เฉพาะลำธารที่มีคุณภาพดีมากและมีการรบกวนน้อย
=== การผสมพันธุ์ ===
การผสมพันธุ์ยังไม่พบรายงานการวางไข่ของนกมุดน้ำในประเทศไทย สันนิษฐานว่านกมุดน้ำเป็นนกอพยพมายังประเทศไทยในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ หรือในฤดูหนาว และเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
 
นกมุดน้ำเป็นนกประจำถิ่นในประเทศไทยที่พบได้ยากมาก<ref>[https://dktnfe.com/web59/?p=2222 นกมุดน้ำ Brown Dipper.]<nowiki><ref></nowiki>[https://www.birdsofthailand.org/bird/brown-dipper นกมุดน้ำ Brown Dipper] Bird of Thailand: Siam Avifauna. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2564.</ref> ภาพถ่ายและรายชื่อนกทุกชนิดที่พบในประเทศไทย. 3 มกราคม 2562.<nowiki></ref></nowiki>
 
นกมุดน้ำเป็นนกประจำถิ่นในประเทศไทยที่พบได้ยากมาก<ref>[https://dktnfe.com/web59/?p=2222 นกมุดน้ำ Brown Dipper.]<ref>[https://www.birdsofthailand.org/bird/brown-dipper นกมุดน้ำ Brown Dipper] Bird of Thailand: Siam Avifauna. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2564.</ref> ภาพถ่ายและรายชื่อนกทุกชนิดที่พบในประเทศไทย. 3 มกราคม 2562.</ref> มีรายงานการพบเพียงครั้งเดียวในช่วงเดือนธันวาคม 2543 บริเวณคลองวังเจ้า อุทยานแห่งชาติคลองเจ้า รอยต่อจังหวัดตากและกำแพงเพชร และนกมุดน้ำนี้เป็นหนึ่งในสิ่งมีชีวิตที่สามารถบ่งชี้สภาพของแหล่งน้ำได้ เนื่องจากสามารถพบได้เฉพาะลำธารที่มีคุณภาพดีมากและมีการรบกวนน้อย
บริเวณอิื่นที่อาจพบนกมุดน้ำในประเทศไทย ได้แก่ บริเวณอ่างกาหลวง<ref>ธนัญพนธ์ เทศขำ. [http://chm-thai.onep.go.th/wetland/DoiInThaNon.html พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ ดอยอินทนนท์] สำนักความหลากหลายทางชีวภาพ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2564.</ref>