ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การกวาดล้างใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
เหตุการณ์ครั้งนี้ ซึ่งเป็นการที่[[โจเซฟ สตาลิน]] ผู้นำ[[สหภาพโซเวียต]] เบียดเบียนผู้คนที่ตนมองว่าเป็น[[การต่อต้านการปฏิวัติ|ผู้ต่อต้านการปฏิวัติ]]และเป็น[[ศัตรูของประชาชน]]นั้น เรียกอย่างเป็นทางการว่า [[การกดขี่ทางการเมือง|การกดขี่]] นักประวัติศาสตร์อภิปรายกันว่า สาเหตุของการกดขี่มีหลายประการ เป็นต้นว่า [[โรคจิตหวาดระแวง]]ของสตาลินเอง หรือความต้องการของสตาลินที่จะกำจัดผู้เห็นต่างออกไปจากพรรคคอมมิวนิสต์หรือที่จะควบรวมอำนาจ การกดขี่นี้เริ่มขึ้นใน[[กองทัพแดง]] และวิธีกดขี่ที่พัฒนาขึ้นในกองทัพนั้นก็เริ่มนำมาประยุกต์ใช้อย่างรวดเร็วแก่การกดขี่ในที่อื่น<ref>Whitewood, Peter. 2015. "[http://ray.yorksj.ac.uk/id/eprint/958/1/slaveasteurorev2.93.2.0286.pdf The Purge of the Red Army and the Soviet Mass Operations, 1937–38]." ''[[The Slavonic and East European Review|Slavonic & East European Review]]'' 93(2)) 286–314.</ref> การกดขี่ส่วนที่ได้รับความสนใจจากสาธารณชนทั่วไปนั้น คือ การกดขี่กลุ่มผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์ รวมถึงข้าราชการและผู้นำกองทัพซึ่งส่วนใหญ่แล้วเป็นสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ แต่การกดขี่ดังกล่าวยังกระทบต่อภาคส่วนอื่น ๆ ของสังคมด้วย เป็นตนว่า ปัญญาชน ชนชั้นรากหญ้าที่มีฐานะหรือปล่อยกู้ซึ่งเรียก[[คูลัค]] และผู้ประกอบวิชาชีพต่าง ๆ{{sfn|Conquest|2008|pp=250,&nbsp;257–8}}
 
ปฏิบัติการที่[[พลาธิการกิจการภายในของประชาชน]]ดำเนินการนั้น ส่งผลต่อชนกลุ่มน้อยที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นประชาคม "[[แนวที่ห้า]]" [[องการ์องค์การทหารโปแลนด์]]ออกคำอธิบายอย่างเป็นทางการว่า การกดขี่ดังกล่าวเป็นไปเพื่อขจัดความเป็นไปได้ที่จะเกิดวินาศกรรมและจารกรรมจากต่างชาติ แม้ว่าภายหลังผู้ถูกกดขี่จะรวมถึงพลเมืองโปแลนด์ทั่ว ๆ ไปเองก็ตาม
 
ตามสุนทรพจน์ของ [[นิกิตา ครุสชอฟ]] ชื่อ "[[ว่าด้วยลัทธิบูชาบุคคลและผลลัพธ์ของมัน]]" เมื่อ ค.ศ. 1956 และตามคำอธิบายของ[[โรเบิร์ต คอนเควสต์]] นักประวัติศาสตร์ ข้อกล่าวหาจำนวนมากที่ใช้ในการกดขี่ โดยเฉพาะที่ฟ้องใน[[การพิจารณาคดีมอสโคว]]นั้น มาจาก[[การบังคับให้รับสารภาพ]] ซึ่งมักได้โดยการทรมาน{{sfn|Conquest|2008|p=121 which cites his secret speech}} และโดยการตีความ[[มาตรา 58]] แห่งประมวลกฎหมายอาญาโซเวียตรัสเซีย (ซึ่งว่าด้วยความผิดฐานต่อต้านการปฏิวัติ) อย่างหละหลวม นอกจากนี้ ยังมักนำกระบวนพิจารณาแบบรวบรัดของคณะตุลาการที่เรียก[[NKVD troika|ทรอยคา]]มาใช้แทน[[วิถีทางที่ถูกต้องแห่งกฎหมาย|ขั้นตอนที่ถูกต้อง]]ตามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายโซเวียตขณะนั้น{{sfn|Conquest|2008|p=286}}
 
ผู้เคราะห์ร้ายหลายหมื่นคนถูกกล่าวหาด้วยความผิดทางการเมืองหลายรูปแบบ เช่น จารกรรม [[การสร้างความเสียหาย (สหภาพโซเวียต)|การสร้างความเสียหาย]] วินาศกรรม [[การปลุกปั่นให้ต่อต้านโซเวียต]] และการสมคบกันเพื่อตระเตรียมการลุกฮือหรือรัฐประหาร ในไม่ช้าผู้เคราะห์ร้ายมักถูกประหารด้วยการยิงเสียให้ตายหรือส่งไปจองจำไว้ในค่ายแรงงานเกณฑ์แบบ[[กูลัก]] หลายคนตายลงในค่ายแรงงานเกณฑ์เพราะความอดอยาก โรค การเสี่ยงชีวิต และการถูกใช้แรงงานเกินควร นอกจากนี้ มีการทดลองใช้วิธีการอื่น ๆ มากำจัดผู้เคราะห์ร้าย เช่น ในมอสโคว มีการใช้[[รถแก๊สก๊าซโซเวียต|รถแก๊สก๊าซ]]ฆ่าผู้เคราะห์ร้ายขณะขนส่งเขาเหล่านั้นไปยังลานประหารที่เรียก[[Butovo firing range|แนวยิงบูโทโว]]<ref group="note">This information was published first in 1990 in a ''[[Komsomolskaya Pravda]]'' article (October 28, 1990, p. 2). Later, it was cited by several sources, including:
 
[[Yevgenia Albats|Albats, Yevgenia]]. 1995. ''KGB: The State Within a State''. p. 101;