ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลมาอิรวดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
}}
}}
'''โลมาอิรวดี''' หรือ '''โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง''' ({{lang-en|Irrawaddy dolphin, Ayeyarwaddy dolphin}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Orcaella brevirostris}}) เป็น[[โลมา]]ชนิดหนึ่ง อยู่ใน[[วงศ์โลมามหาสมุทร]] (Delphinidae) รูปร่างหน้าตาคล้ายโลมาทั่วไป แต่มีลักษณะเด่นคือ หัวที่มนกลมคล้ายบาตรพระ ลำตัวสีเทาเข้ม แต่บางตัวอาจมีสีอ่อนกว่า ตามีขนาดเล็ก ปากอยู่ด้านล่าง ครีบข้างลำตัวแผ่กว้างเป็นรูปสามเหลี่ยม ครีบบนมีขนาดเล็กมาก มีรูปทรงแบนและบางคล้ายเคียว มีขนาดประมาณ 180-180–275 [[เซนติเมตร]] น้ำหนัก 3.21 กิโลกรัม
 
มีการกระจายอย่างกว้างขวางใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]], [[มหาสมุทรอินเดีย]], [[อ่าวไทย]] มักพบเข้ามาอยู่ในแหล่ง[[น้ำกร่อย]]และ[[ทะเลสาบ]]หรือ[[น้ำจืด]] เช่น บริเวณ[[ปากแม่น้ำ]] โลมาอิรวดีบางกลุ่มอาจเข้ามาอาศัยอยู่ใน[[แม่น้ำ]]สายใหญ่ ๆ ด้วย เช่น [[แม่น้ำโขง]] และ[[ทะเลสาบเขมร]] ในปี [[พ.ศ. 2459]] มีรายงานว่าพบอยู่ใน[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] และเคยมีผู้จับได้ที่[[คลองรังสิต]] ในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร<ref>หน้า 109, ''กระเบนน้ำจืดแห่งชาติ''. "Wild Ambition" โดย กิตติพงษ์ จารุธาณินทร์, ชวลิต วิทยานนท์. นิตยสาร Aquarium Biz ปีที่ 4 ฉบับที่ 51: กันยายน 2014</ref>
 
ถูกโลมาอิรวดีได้รับการค้นพบครั้งแรกที่[[แม่น้ำอิรวดี]]ใน[[ประเทศพม่า]] จึงเป็นที่มาของชื่อ ปัจจุบันใน[[น้ำจืด]] สามารถพบได้ 5 แห่ง คือ [[ทะเลสาบชิจิลิก้ากา]] [[ประเทศอินเดีย]], แม่น้ำโขง, [[ทะเลสาบสงขลา]], ปาก[[แม่น้ำมหาคามบางปะกง]], แม่น้ำโขง และ[[ประเทศอินโดนีเซียแม่น้ำมาฮากัม]] และปาก[[แม่น้ำบางปะกงประเทศอินโดนีเซีย]] โดยสถานที่ที่พบได้น้อยที่สุดและถือเป็นแหล่งวิกฤตที่สุด คือ ทะเลสาบสงขลา ในส่วนที่เป็นน้ำจืดหรือน้ำกร่อย หรือที่เรียกว่า ทะเลน้อย<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/5/2014-06-15/21/|title= สมุดโคจร: ทะเลสาบสงขลา|date=15 June 2014|accessdate=20 June 2014|publisher=ช่อง 5}}</ref>
 
มีพฤติกรรมพบได้บริเวณที่มีน้ำขุ่น สามารถอยู่ใต้ผิวน้ำได้นานถึง 70-70–150 [[วินาที]] แล้วจะโผล่ขึ้นมาหายใจสลับกัน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ตั้งท้องนาน 9 [[เดือน]] ลูกที่เกิดมามีขนาดร้อยละ 40 [[เปอร์เซนต์|%]] ของตัวโตเต็มวัย อาหารได้แก่ กุ้ง ปลา และหอยที่อยู่บนผิวน้ำและใต้โคลนตม สถานภาพจัดอยู่ในบัญชีประเภทที่ 1 ของ[[อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าใกล้สูญพันธุ์|ไซเตส]] (Appendix I) คือ ห้ามซื้อขาย ยกเว้นมีไว้ในการศึกษาและขยายพันธุ์
 
โลมาอิรวดีมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีก เช่น "โลมาหัวบาตรมีครีบหลัง", "โลมาน้ำจืด", "โลมาหัวหมอน" ใน[[ภาษาใต้]] และ "ปลาข่า" (ປາຂ່າ) ใน[[ภาษาลาว]] เป็นต้น