ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรฮีนจา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 72:
| religions = [[ซุนนี|อิสลามซุนนี]] (ส่วนใหญ่), [[ฮินดู]] (ส่วนน้อย)<ref name="เดลิเมล">{{cite web |url= http://www.dailymail.co.uk/news/article-4921426/Hindu-Rohingya-say-Muslim-majority-force-convert.html |title= 'They were killed in a row. Only eight women, young and beautiful, were allowed to live': Hindu Rohingya reveal how Muslim majority force them to convert or die in refugee camps |author= Manogya Loiwal and Sara Malm for Mailonline |date= 26 กันยายน 2560 |work= Daily Mail |publisher=|language= อังกฤษ |accessdate= 20 มกราคม 2561}}</ref><ref name="ธากา">{{cite web |url= http://www.dhakatribune.com/bangladesh/2017/10/01/who-really-attacked-the-rohingya-hindus-in-rakhine/ |title= Who really attacked the Rohingya Hindus in Rakhine? |author= Mahadi Al Hasnat |date= 1 ตุลาคม 2560 |work= Dhaka Tribune |publisher=|language= อังกฤษ |accessdate= 20 มกราคม 2561}}</ref>
}}
'''โรฮีนจา'''<ref>{{Cite web |url=http://www.royin.go.th/wp-content/uploads/2015/05/Rohingya.pdf |title=สำนักงานราชบัณฑิตยสภาชี้แจงคำ “โรฮีนจา” และ “เมียนมา” |publisher= สำนักงานราชบัณฑิตยสภา|date=พฤษภาคม 2558 |accessdate=11 ธันวาคม 2560}}</ref> ({{lang-my|ရိုဟင်ဂျာ}} {{IPA|/ɹòhɪ̀ɴd͡ʑà/}} ''โหร่หิ่งจ่า''; [[ภาษาโรฮีนจา|โรฮีนจา]]: {{lang|rhg|Ruáingga}} {{IPA|/ɾuájŋɡa/}} ''รูไอง์กา''; {{lang-bn|রোহিঙ্গা, Rohingga}}) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์มุสลิมที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือของ[[รัฐยะไข่]] (อาระกัน) ทางตะวันตกของ[[ประเทศพม่า]] และพูด[[ภาษาโรฮีนจา]]<ref name=lan>{{cite book | title=Language and National Identity in Asia | publisher=Oxford University Press | author=Andrew Simpson | year=2007 | location=United Kingdom | pages=267 | isbn=978-0199226481}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.ethnologue.com/language/rhg |title=Rohingya reference at Ethnologue}}</ref> ชาวโรฮีนจาและนักวิชาการบางส่วนกล่าวว่า โรฮีนจาเป็นชนพื้นเมืองในพื้นที่รัฐยะไข่ ในขณะที่นักประวัติศาสตร์บางส่วนอ้างว่า พวกเขาอพยพเข้าพม่าจาก[[เบงกอล]]ในสมัยการปกครองของ[[สหราชอาณาจักร]]เป็นหลัก{{Sfn|Leider|2013|p=7}}<ref name="Derek">{{cite web | url=http://blog.irrawaddy.org/2014/04/blog-post_52.html | title=The 'Rohingya' Identity - British experience in Arakan 1826-1948 | publisher=The Irrawaddy | accessdate=19 January 2015 | author=Derek Tonkin}}</ref><ref name=":3">{{Cite book|title = Burma’s Muslims: Terrorists or Terrorised?|last = Selth|first = Andrew|publisher = Strategic and Defence Studies Centre, Australian National University|year = 2003|isbn = 073155437X|location = Australia|pages = 7}}</ref> และนักประวัติศาสตร์ส่วนน้อยกล่าวว่า พวกเขาอพยพมาหลังจากพม่าได้รับเอกราชในปี 2491 และหลังจาก[[Bangladesh Liberation War|บังกลาเทศทำสงครามประกาศเอกราช]]ในปี 2514 ชาวโรฮิงญาเป็นลูกหลานของอาชญากรที่ถูกเนรเทศในสังคมโบราณ<ref name=Kaiser/><ref name=":6">{{Cite book|title = Minority Problems in Southeast Asia|last = Adloff|first = Richard|publisher = Stanford University Press|year = 1955|isbn = |location = United States|pages = 154|last2 = Thompson|first2 = Virginia}}</ref>{{Sfn|Crisis Group|2014|pp=4-5}}<ref name=":5" /><ref name=":7" />
 
ชาวมุสลิมตั้งถิ่นฐานในรัฐยะไข่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ไม่สามารถประมาณจำนวนผู้ตั้งถิ่นฐานชาวมุสลิมก่อนการปกครองของสหราชอาณาจักรได้อย่างแม่นยำ{{Sfn|Leider|2013|p=14}} หลัง[[สงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่หนึ่ง]]ในปี 2369 สหราชอาณาจักรผนวกรัฐยะไข่และสนับสนุนให้มีการย้ายถิ่นจากเบงกอลเพื่อทำงานเป็นผู้ใช้แรงงานในไร่นา ประชากรมุสลิมอาจมีจำนวนถึงร้อยละ 5 ของประชากรรัฐยะไข่แล้วเมื่อถึงปี 2412 แต่จากการประเมินของปีก่อนหน้าก็พบว่ามีจำนวนสูงกว่านี้ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ความรุนแรงระหว่างชุมชนก็ปะทุขึ้นระหว่างชาวยะไข่ซึ่งนับถือศาสนาพุทธกับหน่วยกำลังวี (V-Force) ชาวโรฮีนจาที่สหราชอาณาจักรติดอาวุธให้ และการแบ่งขั้วก็รุนแรงมากขึ้นในพื้นที่<ref name=":2" /> ในปี 2525 รัฐบาลพลเอกเนวีนตรากฎหมายความเป็นพลเมืองซึ่งปฏิเสธความเป็นพลเมืองของชาวโรฮีนจา<ref name=":7">{{Cite web|url = http://www.networkmyanmar.org/images/stories/PDF15/Leider-Note.pdf|title = "Rohingya": Rakhaing and Recent Outbreak of Violence: A Note|date = |accessdate = 11 February 2015|website = |publisher = Network Myanmar|last = Leider|first = Jacques P.}}</ref><ref name="Derek" />