ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอวาทปาติโมกข์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มเติม
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Buddha-image at Venuvana Rajgir, Bihar, India.jpg|200px|thumb|left|[[พระพุทธรูป]]ปางทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ ที่[[วัดเวฬุวันมหาวิหาร]]]]
 
'''โอวาทปาฏิโมกข์''' เป็นหลักคำสอนสำคัญของ[[พระพุทธศาสนา]] เป็น "ปาติโมกข์" ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงตลอดปฐมโพธิกาล คือ 20 พรรษาแรก เฉพาะครั้งแรกในวันเพ็ญเดือนมาฆะ (เดือน 3) หลังจากตรัสรู้แล้ว 9 เดือน เป็นการแสดงปาติโมกข์ที่ประกอบด้วยองค์ 4 เรียกว่า ''[[จาตุรงคสันนิบาต]]'' ซึ่งมีเพียงครั้งเดียวในพระศาสนาของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่งๆ โอวาทปาฏิโมกข์นั้นถ้าเปรียบในสมัยนี้คงเปรียบได้กับการกำหนดพันธกิจขององค์กรต่างๆ จึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นการกำหนดพันธกิจให้กับพระสงฆ์สาวกทั้งปวงหรือจะเรียกว่าเป็นการประกาศตั้งศาสนา(แนวทางการปฏิบัติ)ก็ได้ ([[อรรถกถา]]แสดงไว้ว่า พระพุทธเจ้าทรงแสดง "โอวาทปาติโมกข์" นี้ ด้วยพระองค์เอง ท่ามกลางที่ประชุมสงฆ์ผู้ศีลบริสุทธิ์ตลอด 20 พรรษาแรก ในครั้งสุดท้าย มีภิกษุผู้ทุศีล เข้าร่วมประชุม พระพุทธเจ้าทรงประกาศให้ออกจากที่ประชุม ภิกษุผู้ทุศีลไม่ยอมออกจากที่ประชุม พระโมคคัลลาฯจึงบังคับให้ออกจากที่ประชุม หลังจากนั้นทรงบัญญัติให้พระสงฆ์แสดง "อาณาปาติโมกข์","ภิกษุปาฏิโมกข์" แทนกันเอง โดยพระองค์ไม่ทรงเข้าร่วมอีก) {{clear|left}}
 
==บทโอวาทปาติโมกข์==
บรรทัด 50:
== ความหมายของโอวาทปาฎิโมกข์ ==
 
โอวาทปาติโมกข์มักถูกกล่าวถึงในแง่หลักธรรม 3 อย่างเพียงเรื่องเดียวว่าเป็น(หัวใจของพระพุทธศาสนา) อย่างไรก็ตามพระพุทธพจน์ 3 คาถากึ่ง อาจสรุปใจความได้เป็นสามส่วน<ref>http://www.paisarn.com/makhabucha.html วันมาฆบูชา</ref> คือ หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 และวิธีการ 6 ดังนี้
 
=== พระพุทธพจน์คาถาแรก ===
=== ทรงกล่าวถึง "หลักการอันเป็นหัวใจสำคัญเพื่อเข้าถึงจุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนาแก่พุทธบริษัททั้งปวงโดยย่อ" หรือ '''หลักการ 3''' กล่าวกันว่าเป็นการสรุปรวบยอดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอันเป็นแนวทางที่พุทธบริษัทพึงปฏิบัติ ได้แก่ ===
=== '''1.การไม่ทำบาปทั้งปวง(ศีล)''' ===
=== '''2.การทำกุศลให้ถึงพร้อม(ทาน)''' ===
บรรทัด 77:
#ความเป็นผู้รู้จักประมาณในการบริโภค (เสพปัจจัยสี่อย่างรู้ประมาณพอเพียง)
#นั่งนอนในที่อันสงัด (สันโดษไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะ)
#ความเพียรในอธิจิต (พัฒนาจิตใจให้ยิ่งด้วยสมถะและวิปัสสนาเสมอ มิใช่ว่าเอาแต่สอนแต่ตนเองไม่กระทำตามที่สอน)
 
== ดูเพิ่ม ==