ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยแอร์เอเชียเอ็กซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mygeneyati (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
บรรทัด 13:
| headquarters = 222 [[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] อาคารส่วนกลาง ชั้นที่ 3 ห้องเลขที่ 3200 [[ถนนวิภาวดีรังสิต]] แขวงสนามบิน [[เขตดอนเมือง]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]] 10210
| key_people = นัดดา บุรณศิริ<ref>http://www.skyscanner.co.th/news/%E2%80%9C%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B8%B2-%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E2%80%9D-%E0%B8%82%E0%B8%B6%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%99-%E2%80%9C%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B9%82%E0%B8%AD%E2%80%9D-%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E2%80%9C%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2-%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B9%8C%E2%80%9D-%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3</ref>
| company_slogan = ''ญี่ปุ่น เกาหลี เซี่ยงไฮ้ ใคร ใคร...ก็บินได้''
''(Now Everyone Can Fly Xtra Long)''
| frequent_flyer = BIG <ref>http://www.airasia.com/th/th/big/big-loyalty.page</ref>
บรรทัด 19:
}}
 
'''ไทยแอร์เอเชียเอ็กซ์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]  : Thai AirAsia X) เป็นสายการบินระยะไกลต้นทุนต่ำสายการบินแรกของประเทศไทย จากการร่วมลงทุนของสายการบิน [[ไทยแอร์เอเชีย]] และ สายการบิน [[แอร์เอเชีย เอกซ์]] โดยให้บริการเที่ยวบินประจำจาก [[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
เริ่มให้บริการครั้งแรกในเส้นทาง [[ท่าอากาศยานดอนเมือง|กรุงเทพฯ (ดอนเมือง)]] - [[ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน|โซล (อินช็อน)]] [[ประเทศเกาหลีใต้]] เมื่อวันที่ [[17 กรกฎาคม|17 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2557]]<ref>[http://www.hflight.net/forums/topic/15741-%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A7-thai-airasia-x-xj700-%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%9B%E0%B8%90%E0%B8%A1%E0%B8%A4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%82/ <nowiki>[1]</nowiki>]</ref> และขยายเส้นทางบินสู่[[ประเทศญี่ปุ่น]] [[ท่าอากาศยานนานาชาตินะริตะ|โตเกียว (นะริตะ)]] และ [[ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ|โอซะกะ (คันไซ)]] ในเวลาต่อมา
บรรทัด 27:
หลังจากที่ให้บริการสู่ประเทศเกาหลีและประเทศญี่ปุ่นจนประสบผลสำเร็จแล้ว ในปี พ.ศ. 2559 เมื่อประเทศไทยกำลังเป็นที่นิยมจากตลาดนักท่องเที่ยวจากประเทศจีน จึงได้เริ่มทำการขยายเปิดเส้นทางใหม่สู่[[ประเทศจีน]] ในเส้นทาง [[ท่าอากาศยานดอนเมือง|กรุงเทพฯ (ดอนเมือง)]] - [[ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง|เซี่ยงไฮ้ (ผู่ตง)]] เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558
 
จากนั้นในปี พ.ศ. 2559 ได้ขยายเส้นทางบินตรงสู่ภูมิภาคตะวันออกกลางในเส้นทาง [[ท่าอากาศยานดอนเมือง|กรุงเทพฯ (ดอนเมือง)]] - [[เตหะราน|เตหะราน (อิหม่ามโคไมนี)]] [[ประเทศอิหร่าน]] เริ่มให้บริการเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2559 และ [[ท่าอากาศยานดอนเมือง|กรุงเทพฯ (ดอนเมือง)]] - [[มัสกัต]] [[ประเทศโอมาน]] ในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2559 หลังจากนั้นไม่นานด้วยเหตุที่ตลาดนักท่องเที่ยวและการเดินทางไปท่องเที่ยวของภูมิภาคตะวันออกกลางนั้นอาจยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก เส้นทาง [[เตหะราน]] [[ประเทศอิหร่าน]] จึงได้ปิดให้บริการลงในวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ในเวลาต่อมาไม่นานเส้นทาง [[มัสกัต]] [[ประเทศโอมาน]] ก็ได้ปิดให้บริการลงด้วยในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2560 
 
และเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2560 ทางเว็บไซต์ของ[[องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ|องค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO)]] ได้ปลดธงแดงให้กับสายการบินภายในประเทศไทยเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เส้นทาง [[ซัปโปะโระ|ซัปโปะโระ (ชิโตะเซะ)]] จึงกลับมาเปิดให้บริการอีกครั้งเมื่อวันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2561 ล่าสุดได้เปิดเส้นทางไปยัง [บริสเบน] เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2562