ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 341:
 
* 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงศรีรัช - เมืองทองธานี ระยะทาง 3 กิโลเมตร ที่กิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ (บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด) เสนอลงทุนเพิ่มเติมภายใต้วงเงิน 4,230 ล้านบาท เข้าสู่สัมปทานหลัก โดยจะมีการลงนามในสัญญาสัมปทานฉบับแก้ไขในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564<ref>[https://www.prachachat.net/property/news-617652 ปิดดีลแล้ว “กาญจนพาสน์” ตอกเสาเข็มรถไฟฟ้าสายสีชมพูเข้าเมืองทอง]</ref> คาดว่าจะเริ่มก่อสร้างได้ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 ใช้เวลาก่อสร้าง 37 เดือน สามารถเปิดให้บริการได้ภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2567 และคาดว่าจะมีผู้โดยสารใช้บริการ 13,785 คน-เที่ยว/วัน<ref>[https://www.kaohoon.com/content/421608 ฉลุย! ครม.ไฟเขียวส่วนต่อขยาย “สีชมพู” เข้าเมืองทองฯ กรอบลงทุน 4.2 พันลบ.]</ref>
 
* 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และกระทรวงคมนาคม ได้จัดพิธีลงนามในสัญญาสัมปทานโครงการกับ บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด ''กรณีโครงการส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงศรีรัช - เมืองทองธานี'' วงเงินลงทุนเพิ่มเติม 4,000 ล้านบาท โดยเอ็นบีเอ็มจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างและจัดสรรกรรมสิทธิ์ที่ดินด้วยตนเองทั้งหมด การก่อสร้างใช้เวลา 37 เดือน คาดว่าสามารถเปิดให้บริการได้ใน พ.ศ. 2567<ref>[https://www.thebangkokinsight.com/558900 'BTS - รฟม.' จับมือ! ลงนาม 'รถไฟฟ้าสายสีชมพูส่วนต่อขยาย' คาดเปิดใช้ปี 67]</ref>
 
==ส่วนต่อขยาย==