ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2564"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Marnoymoji (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
|แอ่ง=WPac
|ปี=2021
|ระบบแรกก่อตัว=ยังไม่มีการก่อตัว19 มกราคม พ.ศ. 2564
|ระบบสุดท้ายสลายตัว=ฤดูกาลยังดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน
|ชื่อพายุมีกำลังมากที่สุด=ตู้เจวียน
|ความกดอากาศของพายุมีกำลังมากที่สุด=996<!--hPa-->
|ลมของพายุมีกำลังมากที่สุด=40<!--นอต-->
|ความเร็วลมโดยเฉลี่ย=10<!--นาที-->
|พายุดีเปรสชันทั้งหมด=2 ลูก
|พายุโซนร้อนทั้งหมด=1 ลูก
|พายุไต้ฝุ่นทั้งหมด=
|พายุรุนแรงทั้งหมด=<!--<small>(ไม่เป็นทางการ)</small>-->
|ดัชนี ACE=
|ผู้เสียชีวิต=ทั้งหมด 1 คน
|อักขระอุปสรรคของความเสียหาย=
|ความเสียหาย=10.8
|คำต่อท้ายความเสียหาย=
|ทางเดินพายุ=<!--20202021 Pacific typhoon season summary.png-->
|Season timeline=<!--ลำดับเหตุการณ์ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2564-->
|ห้าฤดูกาล= [[ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562|2562]], [[ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563|2563]], '''2564''', [[ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565|2565]] , [[ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2566|2566]]}}
'''ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2564''' เป็นเหตุการณ์ในรอบวัฎจักรของการก่อตัวของ[[พายุหมุนเขตร้อน]]ในอนาคตปัจจุบันของ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]ตะวันตก ฤดูกาลดังกล่าวลากยาวตลอด พ.ศ. 2564 โดยพายุหมุนส่วนใหญ่จะ[[การกำเนิดพายุหมุนเขตร้อน|ก่อตัว]]ขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม
 
ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ระหว่างเมอริเดียนที่ 100 และ 180 ตะวันออก ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ มีสองหน่วยงานที่กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งอาจเป็นผลให้พายุลูกหนึ่งมีสองชื่อ [[กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น]]จะตั้งชื่อพายุถ้าพายุลูกนั้นมีความเร็วลมที่รอบศูนย์กลางพายุที่สูงสุด 10 นาที อย่างน้อย 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ใดในแอ่ง ขณะที่สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งเคลื่อนเข้าสู่หรือก่อตัวขึ้นเป็นดีเปรสชันเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานฯ ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างลองติจูด 135 และ 115 องศาตะวันออก และระหว่างละติจูด 5 ถึง 25 องศาเหนือ แม้พายุนั้นจะมีชื่อที่กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นตั้งแล้วก็ตาม นอกจากนี้พายุดีเปรสชันเขตร้อนซึ่งถูกเฝ้าจับตาโดย[[ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม]]ของสหรัฐอเมริกายังได้กำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียกด้วย