ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dukeadinbera (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dukeadinbera (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 34:
ในปี [[พ.ศ. 2537]] ได้เสกสมรสกับหม่อมชลาศัย ยุคล ณ อยุธยา และกลายมาเป็นที่รู้จักโดยทั่วของสังคม ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นการพลิกชีวิตของหม่อมชลาศัย จนได้เธอถูกเปรียบเทียบว่าเป็น ''"ซินเดอเรลลาเมืองไทย"'' แต่สาเหตุแห่งการแต่งงานครั้งนี้ชลาศัยได้ออกมาพูดว่า "ท่านกบต้องการเอาชนะตนโดยไม่ให้ตนหนีเที่ยวอีก ส่วนตนก็เพื่อต้องการเอาชนะหม่อมคนอื่น ๆ ที่คอยว่าตน และการแต่งงานครั้งนี้ก็ไม่ได้มาจากความรักเลย" ท่ามกลางความรู้สึกไม่รักมาแต่เดิม<ref>[[กระปุก.คอม]]. ''[http://hilight.kapook.com/view/75105 17 ปี หม่อมลูกปลา ในคดีฆ่าท่านกบ หม่อมเจ้าฐิติพันธ์]''. เรียกดูเมื่อ 20 สิงหาคม 2555</ref>
 
หม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ ยุคล สิ้นชีพิตักสัยขณะทรงชีพิตักษัย ขณะทรง[[วิทยุสื่อสาร]] (ทรงเป็น[[นักวิทยุสมัครเล่น]]) เมื่อวันที่ [[27 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2538]] โดยทรงถูกวางยาพิษในกาแฟ<ref>http://www.thaicenter99.com/board/index.php?topic=1858.0;wap2</ref> โดยที่หม่อมชลาศัยถูกตั้งข้อสงสัยว่าเป็นผู้วาง[[ยาพิษ]]ใน[[กาแฟ]]สังหาร ร่วมกับนายอุเทศ ชุปวา ซึ่งเจ้าหน้าที่ตำรวจจากการสอบสวนเบื้องต้นพบว่าหม่อมเจ้าฐิติพันธุ์ได้เสวยกาแฟที่มีการผสมยาฆ่าแมลงกลุ่มคาร์บอเมท โดยวันนั้นชลาศัยอยู่ในที่เกิดเหตุ แต่ได้ปฏิเสธการรู้เห็นในเรื่องนี้ และนายอุเทศก็ได้ถูกจับในข้อหาบุกรุกเคหะสถานในยามวิกาล ต่อมา[[ศาลฎีกา]] ซึ่งเป็นศาลสูงสุดได้พิพากษาในวันที่ [[17 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2555]] ได้พิพากษาให้จำคุกหม่อมชลาศัย พิพากษาจำคุก 7 ปี แต่ลดโทษให้ 1 ใน 3 เหลือจำคุก 4 ปี 8 เดือน
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==