ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:ชาวไทย/ทดลองเขียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
แปล
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
แปล
บรรทัด 22:
ฮารัลด์ พระเชษฐาของพระเจ้าคนุต อาจจะเคยเสด็จมาร่วมพิธีราชาภิเษกของพระราชอนุชาใน ค.ศ. 1016 ก่อนที่จะเสด็จกลับเดนมาร์กไปพร้อมกองเรือส่วนหนึ่ง เป็นที่ทราบว่ามีการบันทึกพระนามของพระเจ้าฮารัลด์กับพระเจ้าคนุต ในรายชื่อสหสมาคมภราดา (Confraternity) ของ[[อาสนวิหารแคนเทอร์เบอรี|ไครสต์เชิร์ช แคนเทอร์เบอรี]] เมื่อปี ค.ศ. 1018 {{sfn|Lawson|2004|p=89}} กระนั้นบันทึกดังกล่าวก็ไม่สามารถยืนยันได้ว่าพระเจ้าฮารัลด์เคยเสด็จมาอังกฤษจริง เนื่องจากบันทึกดังกล่าวอาจจะถูกจัดทําขึ้นโดยที่พระเจ้าฮารัลด์ไม่ได้มีส่วนรับทราบด้วย ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าจะเป็นรับสั่งจากพระเจ้าคนุตเอง โดยทั่วไปแล้วเชื่อกันว่าพระเจ้าฮารัลด์สวรรคตในปีเดียวกัน จึงทําให้เกิดความไม่แน่ใจว่าบันทึกฉบับนั้นจัดทําขึ้นในระหว่างที่พระเจ้าฮารัลด์ยังคงทรงพระชนม์อยู่ หรือสวรรคตไปแล้วกันแน่ {{sfn|Lawson|2004|p=89}} การบันทึกพระนามของพระเชษฐาใน[[โคเด็กซ์]] (Codex) ที่แคนเทอร์เบอรี อาจจะเป็นความพยายามโน้มน้าวศาสนจักรของพระเจ้าคนุต เพื่อให้พวกเขาเห็นว่าการล้างแค้นผู้ปลงพระชนม์พระเจ้าฮารัลด์ของพระองค์เป็นการกระทําที่ชอบธรรม หรือการบันทึกดังกล่าวอาจจะเป็นไปเพื่อขอให้ดวงพระวิญญาณของผู้ล่วงลับได้อยู่ภายใต้ความคุ้มครองของพระผู้เป็นเจ้า มีหลักฐานบ่งชี้ว่าพระเจ้าคนุตกําลังทรงปราบปราม''โจรสลัด'' ในปี ค.ศ. 1018 โดยทรงทําลายเรือของพวกโจรไปกว่าสามสิบลํา<ref>Thietmar, ''Chronicon'', vii. 7, pp. 502–03</ref> แต่ก็ไม่เป็นที่ทราบกันว่าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่นอกชายฝั่งของอังกฤษหรือเดนมาร์ก พระเจ้าคนุตเองก็ทรงกล่าวถึงปัญหาความวุ่นวายในพระราชสาสน์ของพระองค์เองเมื่อปี ค.ศ. 1019 (เป็นพระราชสาสน์ซึ่งส่งจากเดนมาร์กไปยังอังกฤษ) ซึ่งพระองค์ทรงเขียนขึ้นในฐานะกษัตริย์แห่งอังกฤษและเดนมาร์ก สันนิษฐานได้ว่าเหตุการณ์เหล่านี้อาจจะเกี่ยวข้องกับการสวรรคตของพระเจ้าฮารัลด์ ใจความชองสาสน์ดังกล่าวสื่อความโดยนับว่าพระเจ้าคนุตทรงพยายามสะสางความวุ่นวายต่าง ๆ เพื่อให้เดนมาร์กสามารถช่วยเหลืออังกฤษได้{{sfn|Lawson|2004|p=90}}
{{quote|พระเจ้าคนุตขอส่งคําทักทายฉันท์มิตรมายังเหล่าอาร์ชบิชอป บิชอปประจำสังฆมณฑล เอิร์ลธอร์เคลและบรรดาเอิร์ลของพระองค์ทั้งปวง...ทั้งฝ่ายศาสนจักรและฆราวาสในอังกฤษ...ข้าพเจ้าขอเรียนให้ท่านทั้งหลายทราบว่า ข้าพเจ้าจักธํารงค์ตนเป็นเจ้าเหนือหัวผู้กรุณา และจักเป็นผู้ทํานุบํารุงรักษากฎหมายและ (พระองค์ทรงชี้แนะให้เหล่าเอลโดแมนของพระองค์ช่วยเหลือเหล่าบิชอปในการรักษา) ความยุติธรรมของพระผู้เป็นเจ้า...และผลประโยชน์ของอาณาราษฎร
Ifหากผู้ใดก็ตาม anyone,จะเป็นสมณเพศหรือฆราวาสก็ดี ecclesiastic or layman, Dane or Englishman,ชาวเดนส์หรือชาวอังกฤษก็ดี is so presumptuous as to defy God's law and my royal authority or the secular laws, and he will not make amends and desist according to the direction of my bishops, I then pray, and also command, Earl Thurkil, if he can, to cause the evil-doer to do right. And if he cannot, then it is my will that with the power of us both he shall destroy him in the land or drive him out of the land, whether he be of high or low rank. And it is my will that all the nation, ecclesiastical and lay, shall steadfastly observe Edgar's laws, which all men have chosen and sworn at Oxford.
Since I did not spare my money, as long as hostility was threatening you, I with God's help have put an end to it. Then I was informed that greater danger was approaching us than we liked at all; and then I went myself with the men who accompanied me to Denmark, from where the greatest injury had come to us, and with God's help I have made it so that never henceforth shall hostility reach you from there as long as you support me rightly and my life lasts. Now I thank Almighty God for his help and his mercy, that I have settled the great dangers which were approaching us that we need fear no danger to us from there; but we may rekon on full help and deliverance, if we need it.|''พระราชสาสน์ของพระเจ้าคนุต ค.ศ. 1019 ''|source={{harvnb|Trow|2005|pp=168–169}} }}