ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
[[ไฟล์:Newtonslawofgravity.ogv|190px|thumb]]
[[ไฟล์:Newtonslawofgravity.ogv|190px|thumb|ศาสตราจารย์วอลเตอร์ เลวิน (Prof. [[Walter Lewin]]) กำลังอธิบายกฎแรงโน้มถ่วงสากลของนิวตันในหลักสูตร 8.01 ที่[[สถาบันเอ็มไอที]] ([http://ocw.mit.edu/courses/physics/8-01-physics-i-classical-mechanics-fall-1999/video-lectures/lecture-11/ MIT course 8.01])<ref>
{{cite video|people=[[Walter Lewin]]|date = October 4, 1999|title= Work, Energy, and Universal GravitatioT Course 8.01: Classical Mechanics, Lecture 11.|url= http://ocw.mit.edu/courses/physics/8-01-physics-i-classical-mechanics-fall-1999/video-lectures/lecture-11/|format=ogg|medium=videotape|language=en|publisher=[[MIT OpenCourseWare|MIT OCW]]|location=Cambridge, MA USA|accessdate=December 23, 2010|time=1:21-10:10|ref=lewin}}</ref>]]
 
[[ไฟล์:Gravitation.gif|190px|thumb|ดาวเทียมและกระสุนปืนทั้งหมดล้วนแล้วแต่เป็นไปตามกฏแห่งแรงโน้มถ่วงของนิวตันทั้งสิ้น]]
 
'''กฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตัน''' ({{lang-en|Newton's law of universal gravitation}}) ระบุว่า แต่ละจุดมวลในเอกภพจะดึงดูดจุดมวลอื่นๆ ด้วยแรงที่มีขนาดเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของมวลทั้งสอง และเป็นสัดส่วนผกผันกับค่ากำลังสองของระยะห่างระหว่างกัน นี่คือกฎฟิสิกส์ทั่วไปที่ได้จากการสังเกตการณ์ของ[[ไอแซก นิวตัน]] เป็นส่วนหนึ่งของ[[กลศาสตร์ดั้งเดิม]] และเป็นส่วนสำคัญอยู่ในงานของนิวตันชื่อ ''[[Philosophiae Naturalis Principia Mathematica]]'' ("the Principia") ซึ่งเผยแพร่ครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1687
 
กฎดังกล่าวแสดงเป็นสมการได้ดังนี้