ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนสมุทรปราการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 32:
[[ไฟล์:หน้าโรงเรียนสมุทรปราการในสมัยก่อน.jpg|200px|thumb|left|หน้าโรงเรียนสมุทรปราการในสมัยก่อน]]
 
{{คำพูด|...ครั้น ณ {{จันทรคติ|วัน=๒|ขึ้น=๑๔|เดือน=๘}} พุทธศักราช ๒๔๒๖ พระบรมวงศ์เธอกรมพระดำรงราชานุภาพครั้งยังดำรงพระยศเป็นพระองค์เจ้าดิศวรกุมารได้เสร็จลงมาตั้งโรงเรียนหนังสือไทยขึ้นที่วัดกลาง…<ref name="pra">พระครูสุนทรสมุทร ตำนานวัดกลาง จังหวัดสมุทรปราการ ตามจดหมายเหตุความทรงจำ, ม.ป.ท., 2462</ref><ref name="book129"/><ref name="ประวัติ"/>}}
 
โรงเรียนสมุทรปราการทำการสอนครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2426 หลัง[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ได้เสร็จลงมาตั้งโรงเรียนหนังสือไทยที่วัดกลางเมืองสมุทรปราการ ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ จัดตั้งโรงเรียนที่มีอยู่ตามพระอารามหลวง<ref name="SPK200 ปี การศึกษาไทย">กฤษณา สินไชย, 200 ปีการศึกษาไทย ลำดับเหตุการ์ณสำคัญ (กรุงเทพ:โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2525) และหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. เอกสารกระทรวงธรรมการ รัชกาลที่ 5 และ 6.</ref><ref name="โรงเรียนสมัยรัตนโกสินทร์">นางสาววรัฏรยา หุ่นเจริญ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2545 [http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Varatraya_Hunchareon/fulltext.pdf ''โรงเรียนสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6''] รูปแบบภาษาไทยและอังกฤษ สืบค้นเมื่อ 5ISBN พฤษภาคม 2561974-653-572-2</ref> ทำให้โรงเรียนหนังสือไทยที่วัดกลางได้รับการจัดตั้งเป็น '''โรงเรียนวัดกลาง''' เมื่อ พ.ศ. 2429<ref name="ประวัติ">[http{{cite web |url=https://www.prakan.ac.th/about-us/ |title=ประวัติโรงเรียน]สมุทรปราการ |author=โรงเรียนสมุทรปราการ |date=2562 |access-date=19 กุมภาพันธ์ 2021}}</ref><ref name="200 ปี การศึกษาไทย"/><ref name="โรงเรียนสมัยรัตนโกสินทร์"/>
 
=== ก่อตั้ง ===
การตั้งโรงเรียนที่วัดกลางสมุทรปราการนี้ พระครูสุนทรสมุทร์ (น้อย) ได้รับภาระเป็นผู้จัดการและอุปการะดูแลโรงเรียนและให้นายเชาว์เป็นครูใหญ่ได้เริ่มการสอนนักเรียนที่ศาลาทำบุญกลางอาวาส กระทั่งวันเสาร์แรม 9 ค่ำ เดือน 8 พ.ศ. 2427 พระครูสุนทรสมุทร์ (น้อย) ได้จัดจ้างอาจารย์มาสอนพระปริยัติธรรมแก่ภิกษุ สามเณร เพิ่มเติมอีก<ref name="SPK1book129"/><ref name="book129SPK1"/>
 
[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้เสด็จมาพระราชทานผ้าพระกฐิน 2 ครั้ง ครั้งแรกระหว่าง [[พ.ศ. 2424]]–[[พ.ศ. 2427]] และครั้งที่สองในวันเสาร์ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 12 [[พ.ศ. 2428]][[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้เสด็จพระราชดำเนินทางชลมารค<ref name="pra"/> หลังจากพระราชทานผ้าพระกฐินแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จทอดพระเนตรบริเวณวัดและโรงเรียนหนังสือไทยแล้วทรงรับสั่งว่า "เด็กนั่งพื้นสกปรก นาฬิกาสำหรับดูเวลาก็ไม่มี" จึงทรงรับสั่งให้ขุนอไภย์ภาษี (หลวงจู้ม้า อัศวนนท์) มัคทายกของวัดกลางซึ่งมาเฝ้ารับเสด็จในขณะนั้นให้นำเรือไปรับนาฬิกาปารีสกับโต๊ะเรียนที่พระราชทาน<ref name="book129"/><ref>บันทึกของคุณหลวงอารักษ์ดรุณพล (ม้วน บุรารักษ์)</ref><ref name="book129"/> (ปัจจุบันนาฬิกาปารีสและโต๊ะเรียนตั้งอยู่ที่อาคาร 4 โรงเรียนสมุทรปราการ)
 
หลังจากที่พระครูสุนทรสมุทร์ (น้อย) มรณภาพใน [[พ.ศ. 2428]] ทำให้ตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดสมุทรปราการว่าง พระธรรมถาวรเจ้าคณะฝ่ายใต้วัดพระเชตุพนและพระยาวุฒิการบดี จางวางกรมสังฆการี กระทรวงธรรมการ ได้มีหนังสือมอบให้พระปลัด (จ้อย) รักษาการคณะสงฆ์และปกครองอาวาสแทนต่อไปจนกว่าจะมีเจ้าคณะมาปกครอง และทางด้านโรงเรียนหนังสือไทยนั้น[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ได้ทรงมอบให้พระปลัด (จ้อย) เป็นผู้อุปการะดูแลจัดการต่อไป<ref name="book129"/><ref name="SPK1">[http://prakan.50webs.com/profile_school/index.htm ประวัติโรงเรียนสมุทรปราการหน้าที่ 1]</ref><ref name="book129"/>
 
วันเสาร์ เดือนยี่ แรม 4 ค่ำ ปีระกา สัปตศก 1247 [[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ขอพระราชทานทำรายงานโรงเรียนขึ้นทูลเกล้าถวายเพื่อทรงทราบ ซึ่งเป็นรายงานฉบับที่ 2 ความตอนหนึ่งว่า “…ในรายงานฉบับก่อนมีโรงเรียน 23 แห่ง, อาจารย์ 54 คน, นักเรียน 1,363 คน ล่วงมาจนถึงเวลานี้มีโรงเรียนทั้งสิ้น 28 แห่ง, อาจารย์ 73 คน, นักเรียน 1,955 คน
มากกว่าในรายงานครั้งก่อน คือ โรงเรียน 5 แห่ง , อาจารย์ 19 คน , นักเรียน 590 คน ซึ่งในจำนวน 5 แห่งนี้ มีแขวงเมืองสมุทรปราการรวมอยู่ด้วยแห่งหนึ่ง มีจำนวนนักเรียน 60 คน ดังตัวอย่างของแผนกการศึกษาถึงจำนวน ครู นักเรียน ในเดือน 2-3-4<ref name="SPK2book129"/><ref name="book129โรงเรียนสมัยรัตนโกสินทร์"/><ref name="SPK2"/>
 
=== พัฒนา ===
[[ไฟล์:นาฬิกาและโต๊ะเรียนพระราชทาน.jpg|350px|thumbnail|right|นาฬิกาและโต๊ะเรียนพระราชทาน]]
 
พ.ศ. 2428 ความทราบใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงมีพระราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศแก่พระบรมวงศานุวงศ์และทวยราษฎร์ทั้งหลายทราบว่า พระองค์มีพระราชดำริเห็นว่าวิชาการและหนังสือเป็นต้นเค้าของวิชาความรู้สมควรที่จะทำนุบำรุงให้เจริญยิ่งขึ้นเพราะคนในสยามของเราไม่รู้หนังสือไทยยังมีอีกมากที่พอรู้อ่านออกเขียนได้แต่ไม่ถูกถ้วนนั้นก็มีมากเพราะโรงเรียนที่สอนวิชาตามแบบหลวงยังมีน้อยอีกทั้งมีพระประสงค์จะให้พระบรมวงศานุวงศ์และทวยราษฎร์ทั้งปวงได้เล่าเรียนหนังสือไทยโดยละเอียดตามแบบที่ถูกต้องจึงสละราชทรัพย์ออกตั้งโรงเรียนและจ้างครูสอนทำนุบำรุงการเล่าเรียนสิ้นพระราชทรัพย์เป็นอันมากและยังมีพระราชดำริจะให้ตั้งโรงเรียนตามพระอารามหลวงทุก ๆ พระอารามทำให้ประชาชนตื่นเล่าลือกันว่าที่ให้ตั้งโรงเรียนนั้นเพราพระราชประสงค์จะเก็บเด็กนักเรียนเป็นทหาร<ref name="SPK2book129"/><ref name="AAASPK2"/><ref name="book129AAA"/>
 
ความทราบใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท จึงประกาศ ณ วันศุกร์ เดือน 6 แรม 3 ค่ำ ปีระกา พ.ศ. 2428 ว่า
บรรทัด 57:
และด้วยความพยายามของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่จะตั้งโรงเรียนให้แก่ประชาชนได้เล่าเรียนกันใน พ.ศ. 2429 จึงตั้งโรงเรียนที่มีอยู่เดิมสำเร็จ 30 แห่งคือในพระนคร 17 โรง, กรุงเก่า 5 โรง, อ่างทอง 2 โรง, ลพบุรี 1 โรง, อุทัยธานี 1 โรง, นครปฐม 1 โรง, ราชบุรี 1 โรง, เพชรบุรี 1 โรงและสมุทรปราการ 1 โรง <ref name="book129">โรงเรียนสมุทรปราการ. หนังสือรุ่นโรงเรียนสมุทรปราการ 129 พ.ศ. 2557 หน้า 4 และ 5</ref><ref name="SPK2"/>
 
พ.ศ. 2434 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ตั้งกรมศึกษาธิการขึ้นในกระทรวงธรรมการ ก็เพราะมีพระราชประสงค์จะจัดการศึกษาเล่าเรียนให้แพร่หลายออกไปอีกทั้งจำนวนนักเรียนโดยประมาณชั้นสูงเพียง 201 คน โรงเรียนภาษาอังกฤษ 206 คน โรงเรียนสามัญซึ่งตั้งในพระอารามต่าง ๆ ทั่วในพระนครและหัวเมืองรวม 51 ตำบล มีนักเรียน 2,360 คน โรงเรียนเชลยศักดิ์ 46 โรง นักเรียน 827 คน ยังเป็นการน้อยนักไม่สมดังพระประสงค์ ประกอบกับศิษย์วัดมักจะไม่ได้มาเรียนถึงแม้จะให้มาเรียนก็ให้มาแต่น้อยจะมีก็แต่เด็กชาวบ้านที่บิดา มารดา ยอมสมัครให้มาเรียนเสียโดยมากแต่เด็กเหล่านี้บ้างก็มาบ้างก็ไม่มา บางทีก็เลิกเรียนเสียทีเดียว ทำให้ไม่เป็นการแน่นอนจึงเป็นเหตุให้จำนวนนักเรียนน้อยไป เป็นการสมควรที่จะจัดการแก้ไขให้การศึกษาหนังสือไทยแพร่หลายออกไป เพื่อให้ประชาราษฎร์ได้รับประโยชน์การเล่าเรียนเต็มบริบูรณ์ทั่วหน้ากัน<ref name="SPK2">[http://prakan.50webs.com/profile_school/index_files/Page350.htm ประวัติโรงเรียนสมุทรปราการหน้าที่ 2]</ref>
 
พ.ศ. 2435 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เจ้าพนักงานกระทรวงธรรมการ จัดการศึกษาให้เป็นแบบแผน โดยแบ่งการเล่าเรียนเป็นลำดับชั้น บรรดาการเล่าเรียนในชั้นแรกเรียกว่า มูลศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ<ref name="AAA">ม.ม.ป. [https://nisakorn5746702006.files.wordpress.com/2014/10/e0b89be0b8a3e0b8b0e0b8a7e0b8b1e0b895e0b8b4e0b881e0b8b2e0b8a3e0b8a8e0b8b6e0b881e0b8a9e0b8b2e0b984e0b897e0b8a2.pdf การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2474)]สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2561</ref><ref name="SPK3"/>
บรรทัด 69:
ต่อมา พ.ศ. 2445 พระปลัดจ้อย ได้จัดตั้งการศึกษาสำหรับสตรีขึ้น อาศัยโรงมหรสพเรียนเป็นการชั่วคราว โดยมีนายอยู่เป็นครูคนแรก ต่อมาพระปลัดจ้อยได้รับพระราชทานสัญญาบัตร สมณศักดิ์ เป็นพระครูสุนทรสมุทร์ และได้เป็นเจ้าอาวาสวัดกลางก็ได้จัดการบำรุงการศึกษาพระปริยัติธรรมและฝ่ายหนังสือไทยเจริญแพร่หลายเป็นลำดับ
 
พ.ศ. 2460 [[กระทรวงธรรมการ]]ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนวัดกลางเป็น "โรงเรียนมัธยมวัดกลาง”กลาง"<ref name="ประวัติ"/> และในปีนี้เองที่ได้ขยายโรงเรียนมัธยมวัดกลางขึ้นอีกแห่งหนึ่ง โดยย้าย ม.1 – 2 จากวัดกลางมาเรียนที่อาคารเรือนแสงเฮี๊ยะ ซึ่งอาศัยที่ดินของวัดพิชัยสงคราม (วัดนอก) เป็นที่ก่อสร้าง
 
พ.ศ. 2465 ขุนอภิรักษ์จรรยา (เปรื่อง ก้องสมุทร) เป็นครูใหญ่และเฉพาะที่วัดกลางก็เริ่มชั้นมัธยมปีที่ 6 เป็นปีแรก ใน พ.ศ. 2476 ทางจังหวัดได้พิจารณาว่า สถานที่เดิมของวัดกลางเต็มขยายไม่ได้ทำให้เด็กต้องแยกไปเรียนหลายแห่ง ไม่สะดวกในการควบคุมจึงรายงานต่อกระทรวงศึกษาธิการขอยุบชั้นประถม และใน พ.ศ. 2477 มีปัญหานักเรียนสตรีที่เรียนจบชั้นมัธยมตอนต้นไม่มีที่เรียนต่อ จึงขออนุญาตกระทรวง ศึกษาธิการเข้าเรียนรวมกันกับนักเรียนชายแบบสหศึกษา
 
พ.ศ. 2478 การศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาวัดกลางเจริญขึ้นอย่างรวดเร็วปัญหาเรื่องที่เรียนไม่พอ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้ส่งเงิน 1,000 บาทมาสมทบกับคณะกรรมการดำเนินงานหาทุนสร้างอาคารเรียนเอกเทศได้เงินทั้งสิ้น 13,000 บาท และสร้างแล้วเสร็จปลายปี พ.ศ. 2479 ต่อมาทางจังหวัดได้ทำรายงานเสนอกระทรวงศึกษาธิการขอเงินการกุศลมาสร้างอาคารเรียนเอกเทศหลังที่ 2 ในที่สุสานของวัดแต่มีเงินจำกัด การก่อสร้างไม่เต็มรูปแบบที่ขอไป ทางโรงเรียนจึงหาเงินมาสมทบสร้างจนแล้วเสร็จ <ref name="SPK3">[http://prakan.50webs.com/profile_school/index_files/Page390.htm ประวัติโรงเรียนสมุทรปราการหน้าที่ 3]</ref>
 
พ.ศ. 2496 กระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศเปลี่ยนชื่อโรงเรียนรัฐบาลทั่วราชอาณาจักร โดยให้มีชื่อจังหวัดที่ตั้งของโรงเรียนต่อท้ายโรงเรียนมัธยมวัดกลางจึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น“เป็น "โรงเรียนสมุทรปราการ”สมุทรปราการ" ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา<ref name="ประวัติ"/>
[http://www.prakan.ac.th/index.phpoption=com_content&view=category&layout=blog&id=40&Itemid=27 ประวัติการเปลี่ยนชื่อโรงเรียน]</ref>
 
[[ไฟล์:เสาธงสามยอด.jpg|300px|thumb|center|ธงโรงเรียนและธงชาติ]]
 
แม้กระทรวงศึกษาอนุมัติเงินงบประมาณให้จัดสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติมเพียงไรก็ตามก็ยังไม่พอกับจำนวนเด็ก ประกอบกับที่วัดไม่สามรถขยายได้อีก จึงอนุมัติเงินการกุศลจำนวน 400,000 บาท สำหรับซื้อที่ดินบริเวณริม[[ถนนสุขุมวิท]]ขนาด 17 ไร่ เมื่อ พ.ศ. 2498<ref ต่อname="ประวัติ"/> 10 ปีเศษหลังจากซื้อที่ [[กระทรวงศึกษาธิการ]]ได้จัดเงินเป็นค่าก่อสร้างอาคารเรียนจำนวนเงิน 2,000,000 บาท เป็นอาคารเรียน 3 ชั้น ขนาด 18 ห้องเรียน และสร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 24 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2511 พร้อมทั้งได้สร้างสาธารณูปโภคอื่น ๆ อีก และในเดือนกันยายน ปีเดียวกันนี้เองก็ได้ย้ายนักเรียนจากวัดกลางมาเรียนยังสถานที่ ที่ได้ก่อสร้างขึ้นใหม่ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน<ref name="SPK4"/>
 
ช่วง พ.ศ. 2511 - 2515 กระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติเงินงบประมาณค่าก่อสร้างอาคารเรียน 3 ครั้งคือใน พ.ศ. 2511 ได้อนุมัติสร้างอาคารเรียน 2 ชั้น ขนาด 5.9 x 40.5 ตารางเมตร 8 ห้องเรียน เป็นเงิน 800,000 บาทแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 ใน ครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2513 อนุมัติสร้างอาคารเรียน 3 ชั้นขนาด 9.5 x 72 ตารางเมตร จำนวน 18 ห้องเรียน เป็นเงิน 200,000 บาท แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2514 และสุดท้าย พ.ศ. 2515 อนุมัติค่าก่อสร้างอาคารเกษตรขนาด 10 x 24.50ตารางเมตร 2 หน่วย เป็นเงิน 200,000 บาท<ref name="SPK4"/>
 
พ.ศ. 2518 ได้รับงบประมาณจากโครงการพัฒนาโรงเรียนมัธยมส่วนภูมิภาค เป็นค่าก่อสร้างอาคารวิทยาศาสตร์ ขนาด 10 x 85 ตารางเมตร จำนวน 12 ห้องเรียน และอาคารอุตสาหกรรมศิลป์ ขนาด 10 x 50 ตารางเมตร จำนวน 6 หน่วย รวมเป็นเงิน 9,671,600 บาท สร้างเสร็จเมื่อ 1 ตุลาคม 2519 ปีต่อมาชมรมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสมุทรปราการ ได้สร้างอาคารชั่วคราวให้โรงเรียนเพื่อใช้เป็นสถานที่เรียนพลานามัยให้ 1 หลัง เป็นเงิน 5,500 บาท ทำให้กรมสามัญศึกษาได้อนุมัติงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ 4 ชั้น 15 ห้องเรียน ชั้นล่างเป็นห้องประชุมโรงอาหาร 1 หลัง เป็นเงิน 7,856,000 บาท ใน พ.ศ. 2525 <ref name="SPK4">[http://prakan.50webs.com/profile_school/index_files/Page433.htm ประวัติโรงเรียนสมุทรปราการหน้าที่ 4]</ref>
พ.ศ. 2528 ได้รับเงินบริจาคจากประชาชนผู้มีจิตศรัทธาและจากการจัดกิจกรรมเดินการกุศลเป็นเงิน 120,000 บาท สร้างอาคารเพิ่มเติมอีก 1 หลังให้เพียงพอแก่จำนวนนักเรียน ให้มีที่นั่งรับประทานอาหารขนาดกว้าง 17 เมตร และยาว 40 เมตร ขนานกับโรงอาหารเดิม
เส้น 93 ⟶ 92:
 
ปีการศึกษา 2539 ส.ส.สนิท กุลเจริญ จัดสรรงบประมาณพัฒนาจังหวัด ปรับปรุงประตูทางเข้าโรงเรียน 2 ประตู มูลค่า 135,000 บาท ส่วนนายแพทย์[[วัลลภ ยังตรง]] จัดสรรงบประมาณพัฒนาจังหวัดจัดซื้อโต๊ะเพื่อใช้ในห้องประชุมใหญ่มูลค่า 428,000 บาท ต่อมา ส.ส.[[พรรคชาติไทย]]ได้จัดสรรงบประมาณพัฒนาจังหวัด ฯ ปรับปรุงสนามอเนกประสงค์ มูลค่า 949,500 บาท และต่อมาในปีงบประมาณ 2540 ได้งบประมาณสร้างอาคารเรียนอเนกประสงค์ 6 ชั้น งบประมาณ ผูกพันปี 2541 และ 2542 มูลค่า 35,990,000 บาท
<ref name="SPK5">[http://prakan.50webs.com/profile_school/index_files/Page498.htm ประวัติโรงเรียนสมุทรปราการหน้าที่ 5]</ref>
 
พ.ศ. 2560 มีการทอดผ้าป่าการศึกษาและรับบริจาคต่าง ๆ เพื่อสร้างหลังคาอเนกประสงค์ โดยสร้างแล้วเสร็จในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 <ref>[http://prakan.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=976:2017-08-25-07-40-44&catid=47:2009-01-24-04-29-53 สร้างหลังคาอเนกประสงค์]</ref>