ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระมงคลวิสุทธิ์ (สุภา กนฺตสีโล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ มังกรคาบแก้ว (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่...
Hakim dorloh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 19:
|ลิขิต =
}}
'''หลวงปู่สุภา กันตสีโล''' ([[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2439]] — [[2 กันยายน]] [[พ.ศ. 2556]]) ท่านเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดสีลสุภารามรูปปัจจุบัน ท่านเป็นศิษย์ของ[[พระครูวิมลคุณากร (ศุข เกสโร)|หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า]] และ พระอาจารย์สีทัตต์ วัดท่าอุเทน จังหวัดนครพนม เป็นพระเถระคณาจารย์ที่มีพรรษาแก่กล้า และมีอายุยืนถึง 118 ปี 98 พรรษา<ref>http://www.thairath.co.th/content/newspaper/367395</ref><ref>http://www.prachatalk.com/webboard/สังคม-การเมือง/สิ้น-หลวงปู่สุภา-เกจิอายุ-119-ปี</ref> ตั้งแต่แผ่นดิน[[รัชกาลที่ 5]] — ปัจจุบันนับเป็นเวลาถึง 5 แผ่นดิน และเชี่ยวชาญพุทธาคมมากที่สุดรูปหนึ่งในรูปปัจจุบัน พระเครื่องที่ออกนามในวัดสารอด '''รุ่นเสด็จกลับ''' เป็นพระเครื่องที่ได้รับความนิยมสูงสุดของท่านเช่นเดียวกับเครื่องราง '''แมงมุมเรียกทรัพย์''' และ '''จระเข้อาคม''' อันขึ้นชื่อลือชา
 
== ประวัติ ==
'''หลวงปู่สุภา''' ท่านเกิดเมื่อวันที่ [[17 กันยายน]] [[พ.ศ. 2439]] ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ บ้านคำบ่อ ตำบลคำบ่อ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร โยมบิดาชื่อ ขุนพลภักดี ผู้ใหญ่บ้านคำบ่อ โยมมารดาชื่อ นางสอ วงศ์คำภา มีพี่น้องร่วมบิดามารดากัน 8 คน ท่านเป็นคนที่ 6 เมื่อมีอายุได้ 9 ขวบตรงกับปี [[พ.ศ. 2448]] บิดามารดาจึงนำไปบรรพชาเป็นสามเณร โดยมีพระอาจารย์สวน เจ้าอาวาสวัดในหมู่บ้านคำบ่อ เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้เดินทางไปศึกษาไปเรียนหนังสือคัมภีร์มูลกัจจายน์ที่วัดไพร่ใหญ่ จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เวลาศึกษาคำภีร์มูลกัจจายน์อยู่ที่วัดไพร่ใหญ่อยู่หลายปี ในปี [[พ.ศ. 2459|พุทธศักราช 2459]] ท่านได้อุปสมบท ณ ภูเขาควาย [[ประเทศลาว]] โดมีพระอาจารย์สีทัตต์เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า '''กนฺตสีโล''' 4 พรรษาเต็มแห่งการเดินธุดงค์ตามป่าเขาลำเนาไพรพอถึงปี [[พ.ศ. 2463]] ท่านได้กราบลาพระอาจารย์สีทัตต์ไปศึกษาพุทธาคมกับ [[พระครูวิมลคุณากร (ศุข เกสโร)|หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า]] ตามที่พระอาจารย์สีทัตต์แนะนำได้รับการอบรมสั่งสอนด้านวิปัสสนากรรมฐานและพุทธาคมเป็นเวลาถึง 3 ปีเต็ม ได้รำเรียนวิชาอาคมและการสร้างเครื่องรางของขลังต่างๆ นอกจากนี้ท่านยังธุดงค์ข้ามไปยัง ประเทศเขมร ลาว พม่า จีน อินเดีย และอัฟกานิสถาน ได้ศึกษาและเปลี่ยนวิชากับพระเกจิอาจารย์ชื่อดังอีกหลายท่าน อาทิ [[พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทธสโร)|หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ]] [[พระครูสิทธิสารคุณ (จาด คังคสโร)|หลวงพ่อจาด วัดบางกะเบา]] [[หลวงพ่อจง พุทธสโร|หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก]] [[พระครูวิชิตพัชราจารย์ (ทบ ธมมฺปญฺโญ)|หลวงพ่อทบ วัดชนแดน]] หลวงพ่อโอภาสี เป็นต้น