ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ควรอยู่ในบทความทหารไทย, กองทัพไทย ฯลฯ
ป้ายระบุ: ถูกแทน
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:King061149-6.jpg|alt=|thumb|250x250px|ทหาร]]
'''ทหาร''' หมายถึง ผู้มีหน้าที่ในเรื่องรบ นักรบ ผู้เป็นกำลังรักษาความมั่นคงและบำรุงประเทศและผู้เป็นกำลังรบและทำหน้าที่อื่น ๆ ในยาม[[สงคราม]]
 
== ทหารสามเหล่าทัพ ==
ทหารจำแนกออกเป็น 3 [[เหล่าทัพ]] หลัก ๆ ได้แก่ [[ทหารบก]] [[ทหารเรือ]] และ[[ทหารอากาศ]]
 
= กองทัพบก =
 
*'''กองทัพบก'''จัดทหารเป็น 4 ประเภท 17 เหล่า
*'''เหล่ารบ''' เป็นเหล่าหลักที่ใช้ในการรบ เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่หลักในสนามรบ ประกอบด้วย 1. '''ทหารราบ''' (ร.) เป็นกำลังรบหลักของกองทัพบกไทย มีกำลังพลมากที่สุด มีหน้าที่เข้ายึดครองและรักษาพื้นที่ แบ่งออกเป็น 3 แบบ ทหารราบยานยนต์ ทหารราบยานเกราะ ทหารราบเบา 2. '''ทหารม้า''' (ม.) แบ่งออกเป็นสามแบบคือ ทหารม้าลาดตระเวน ทหารม้าบรรทุกยานเกราะ ยานสายพาน หรือยานหุ้มเกราะเป็นพาหนะในการรบ ทหารม้ารถถัง ใช้รถถังเป็นอาวุธหลักในการปฏิบัติการรบ <br />
*'''เหล่าสนับสนุนการรบ''' เหล่าสนับสนุนการรบ เป็นฝ่ายสนับสนุนการรบ โดยส่วนมากมักปฏิบัติงานควบคู่กับหน่วยรบในสนามรบ ประกอบด้วย 1. '''ทหารปืนใหญ่''' (ป.) ใช้ปืนใหญ่ ในการยิงสนับสนุนให้กับหน่วยกำลังรบ 2. '''ทหารช่าง''' (ช.) เป็นฝ่ายช่วยเหลือทางเทคนิคด้านงานช่าง ก่อสร้าง ซ่อม หรือทำลาย สิ่งก่อสร้างต่างๆ 3. '''ทหารสื่อสาร''' (ส.) เป็นฝ่ายช่วยเหลือทางเทคนิคด้านงานสื่อสาร และด้านเทคโนโลยีต่างๆ 4. '''ทหารการข่าว''' (ขว.) ข่าวกรอง <br />
*'''เหล่าช่วยรบ''' เหล่าช่วยรบ เป็นฝ่ายส่งกำลังหรือสิ่งอุปกรณ์ช่วยเหลือการรบ โดยมากปฏิบัติงานแนวหลังในสนามรบ ประกอบด้วย 1. '''ทหารสรรพาวุธ''' (สพ.) เป็นฝ่ายสนับสนุนสิ่งอุปกรณ์จำพวก อาวุธ กระสุน วัตถุระเบิด ตลอดจนยานพาหนะในการรบ 2. '''ทหารพลาธิการ''' (พธ.) เป็นฝ่ายสนับสนุนสิ่งอุปกรณ์จำพวก อาหาร เครื่องแต่งกาย เชื้อเพลิง ยุทธภัณฑ์ส่วนบุคคล 3. '''ทหารแพทย์''' (พ.) เป็นฝ่ายสนับสนุนสิ่งอุปกรณ์ในกลุ่มเวชภัณฑ์ และสิ่งอุปกรณ์ทางการแพทย์ รวมถึงเป็นฝ่ายรักษาพยาบาลให้กับทหารและครอบครัวทหาร 4. '''ทหารขนส่ง''' (ขส.) เป็นฝ่ายอำนวยความสะดวกเรื่องการขนส่งกำลังพล และการเคลื่อนย้ายสิ่งอุปกรณ์ <br />
*'''เหล่าสนับสนุนการช่วยรบ''' นอกจากนี้ยังมีหน่วยอื่นๆ ที่มิได้เป็นหน่วยที่เกี่ยวข้องกับการรบโดยตรง ประกอบด้วย 1. '''ทหารสารบรรณ''' (สบ.) มีหน้าที่ดำเนินการด้านธุรการ เอกสาร ทะเบียนประวัติ และงานสัสดี 2. '''ทหารการเงิน''' (กง.) ปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชี งบประมาณ และการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. '''ทหารพระธรรมนูญ''' (ธน.) ดำเนินการด้านกฎหมาย การศาลทหาร และงานทนายทหาร 4. '''ทหารแผนที่''' (ผท.) มีหน้าที่สำรวจและจัดทำ แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศ (ขึ้นการบังคับบัญชากับ กองบัญชาการกองทัพไทย) 5. '''ทหารการสัตว์''' (กส.) มีหน้าที่ดูแลสัตว์ในราชการกองทัพ 6. '''ทหารดุริยางค์''' (ดย.) มีหน้าที่ให้ความบันเทิง สันทนาการ 7. '''ทหารสารวัตร''' (สห.) มีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อย ดูแลระเบียบวินัยของทหาร การเชลย
 
= กองทัพเรือ =
 
*'''กองทัพเรือ''' จำแนกทหารออกเป็น 4 พรรค 24 เหล่า
*'''พรรคนาวิน''' (นว.) General Line 1. '''เหล่าทหารการปืน''' (ป.) Gunner's Mate 2. '''เหล่าทหารอาวุธใต้น้ำ''' (ด.) Torpedoman's Mate 3. '''เหล่าทหารสามัญ''' (ส.) Quartermaster and Coxswain 4. '''เหล่าทหารสัญญาณ''' (ญ.) Signal Corps 5. '''เหล่าทหารอุทกศาสตร์''' (อศ.) Hydrographic Corps 6. '''เหล่าทหารขนส่ง''' (ขส.) Transportation Corps 7. '''เหล่าทหารสรรพาวุธ''' (สพ.) Ordnance Corps 8. '''เหล่าทหารอุตุนิยมวิทยา''' (อ.) Meteorological Corps 9. '''เหล่าทหารสารวัตร''' (สห.) Military Police Corps 10. '''เหล่าทหารการข่าว''' (ขว.) Intelligence Corps <br />
*'''พรรคกลิน''' (กล.) Engineering Line 1. '''เหล่าทหารไฟฟ้า''' (ฟ.) Electrician Corps 2. '''เหล่าทหารเครื่องกล''' (ย.) Engine Corps <br />
*'''พรรคนาวิกโยธิน''' (นย.) Marine Corps 1. '''เหล่าทหารราบ''' (ร.) Infantry 2. '''เหล่าทหารปืนใหญ่''' (ป.) Artillery 3. '''เหล่าทหารช่าง''' (ช.) Corps of Engineer 3. '''เหล่าทหารสื่อสาร''' (สส.) Signal Corps <br />
*'''พรรคพิเศษ''' (พศ.) Staff (Special Corps) 1. '''เหล่าทหารสารบรรณ''' (สบ.) Yeoman (Administration) 2. '''เหล่าทหารพลาธิการ''' (พธ.) Supply Corps 3. '''เหล่าทหารการเงิน''' (กง.) Finance Corps 4. '''เหล่าทหารพระธรรมนูญ''' (ธน.) Judge Advocate General's Corps 5. '''เหล่าทหารช่างยุทธโยธา''' (ยย.) Civil Engineer 6. '''เหล่าทหารวิทยาศาสตร์''' (วศ.) Science Corps 7. '''เหล่าทหารดุริยางค์''' (ดย.) Band 8. '''เหล่าทหารแพทย์''' (พ.) Medical Corps
 
= กองทัพอากาศ =
 
*'''กองทัพอากาศ''' ทหารเป็น 6 ส่วนราชการ
*'''กองบัญชาการกองทัพอากาศ''' แผนกสนับสนุนกองบัญชาการกองทัพอากาศ ศูนย์อำนวยการเครื่องบินพระราชพาหนะ ศูนย์อำนวยการเฮลิคอปเตอร์พระราชพาหนะ ศูนย์การสงครามทางอากาศ สำนักงานพัฒนาระบบราชการกองทัพอากาศ <br />
*'''ส่วนบัญชาการ''' สำนักงานเลขานุการกองทัพอากาศ '''กรมสารบรรณทหารอากาศ''' พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ '''กรมกำลังพลทหารอากาศ''' '''กรมข่าวทหารอากาศ''' '''กรมยุทธการทหารอากาศ''' '''กรมส่งกำลังบำรุงทหารอากาศ''' '''กรมกิจการพลเรือนทหารอากาศ''' '''กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทหารอากาศ''' สำนักงานปลัดบัญชีทหารอากาศ '''กรมการเงินทหารอากาศ''' '''กรมจเรทหารอากาศ''' สำนักงานตรวจสอบภายในทหารอากาศ สำนักงานนิรภัยทหารอากาศ สำนักงานพระธรรมนูญทหารอากาศ <br />
*'''ส่วนกำลังรบ''' กองบิน 1 นครราชสีมา   ฝูงบิน 102 "Star"   ฝูงบิน 103 "Lightning" กองบิน 2 ลพบุรี   ฝูงบิน 201 รักษาพระองค์ "Spider"   ฝูงบิน 203 "Scorpion"   สนามฝึกใช้อาวุธทางอากาศชัยบาดาล "chandy" กองบิน 4 ตาคลี นครสวรรค์   ฝูงบิน 401 "Dragon"   ฝูงบิน 402 "Focus"   ฝูงบิน 403 "Cobra"   ฝูงบิน 404 "อากาศยานไร้นักบิน" กองบิน 5 ประจวบคีรีขันธ์   ฝูงบิน 501 "Mosquito" กองบิน 6 ดอนเมือง   ฝูงบิน 601 "Lucky"   ฝูงบิน 602 รักษาพระองค์ "Wihok"   ฝูงบิน 603 "Cowboy"   ฝูงบิน 604 "Sunny" หน่วยบินเดโชชัย 3 - ฝูงบิน 904 "Starfire" กองบิน 7 สุราษฏร์ธานี   ฝูงบิน 701 "Shark"   ฝูงบิน 702 "Orca" กองบิน 21 อุบลราชธานี   ฝูงบิน 211 "Eagle" กองบิน 23 อุดรธานี   ฝูงบิน 231 "Hunter" กองบิน 46 พิษณุโลก   ฝูงบิน 461 "Vampire" กองบิน 41 เชียงใหม่   ฝูงบิน 411 "Thunder" กองบิน 56 หาดใหญ่ สงขลา*   ฝูงบิน 561 "Panther" โรงเรียนการบิน กำแพงแสน ฝูงฝึกขั้นต้น "Chicken" ฝูงฝึกขั้นปลาย "Mustang" กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ หน่วยในระบบป้องกันทางอากาศ ศูนย์ควบคุมการปฏิบัติการทางอากาศกรุงเทพ ศูนย์ควบคุมการปฏิบัติการทางอากาศสุราษฎร์ธานี ศูนย์ควบคุมและรายงานดอยอินทนนท์ สถานีรายงานเขาเขียว สถานีรายงานเขาพนมรุ้ง สถานีรายงานภูสิงห์ สถานีรายงานเขาจาน สถานีรายงานบ้านเพ สถานีรายงานเขาใหญ่ สถานีรายงานพิษณุโลก สถานีรายงานสุรินทร์ สถานีรายงานภูเขียว สถานีรายงานภูหมันขาว สถานีรายงานเกาะสมุย สถานีรายงานภูเก็ต สถานีรายงานหาดใหญ่ หน่วยในระบบควบคุมทางอากาศยุทธวิธี ศูนย์สนับสนุนทางอากาศโดยตรงที่ 1 ดอนเมือง ศูนย์สนับสนุนทางอากาศโดยตรงที่ 2 นครราชสีมา ศูนย์สนับสนุนทางอากาศโดยตรงที่ 3 พิษณุโลก ศูนย์สนับสนุนทางอากาศโดยตรงที่ 4 นครศรีธรรมราช กองกำลังทางอากาศเฉพาะกิจที่ 9 ปัตตานี ฝูงบินอิสระปฏิบัติราชการสนาม   ฝูงบิน 509 หัวหิน***   ฝูงบิน 206 วัฒนานคร   ฝูงบิน 106 อู่ตะเภา   ฝูงบิน 207 ตราด   ฝูงบิน 237 น้ำพอง**   ฝูงบิน 236 สกลนคร   ฝูงบิน 238 นครพนม   ฝูงบิน 466 น่าน   ฝูงบิน 417 เชียงราย หน่วยบัญชาการอากาศโยธิน หมายเหตุ (*) = ฐานบินปฏิบัติการส่วนหน้า ไม่มีอากาศยานบรรจุถาวร (**) = ฝูงบินอิสระปฏิบัติราชการสนามและสนามฝึกใช้อาวุธทางอากาศ (***) = ฝูงบินอิสระปฏิบัติภารกิจพิเศษและหน่วยบินเฮลิคอปเตอร์พระราชพาหนะ <br />
*'''ส่วนส่งกำลังบำรุง''' กรมช่างอากาศ '''กรมสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ทหารอากาศ''' สถานีวิทยุกระจายเสียงทหารอากาศ (สนว.กจ.ทอ.) ช่องรายการโทรทัศน์กองทัพอากาศ (AFCTV หรือ Air Force Channel TV.) '''กรมสรรพาวุธทหารอากาศ''' '''กรมแพทย์ทหารอากาศ''' โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช โรงพยาบาลจันทรุเบกษา '''กรมพลาธิการทหารอากาศ''' '''กรมช่างโยธาทหารอากาศ''' '''กรมขนส่งทหารอากาศ''' <br />
*'''ส่วนการศึกษา''' '''กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ''' วิทยาลัยการทัพอากาศ โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ โรงเรียนนายทหารอากาศอาวุโส โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับฝูง โรงเรียนนายทหารชั้นผู้บังคับหมวด โรงเรียนครูทหาร โรงเรียนนายทหารชั้นประทวน โรงเรียนจ่าอากาศ ศูนย์ภาษา ศูนย์ทดสอบบุคคล โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช <br />
*'''ส่วนกิจการพิเศษ''' ศูนย์วิจัยพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการบินและอวกาศกองทัพอากาศ '''กรมสวัสดิการทหารอากาศ''' สำนักงานผู้บังคับทหารอากาศดอนเมือง (สห.ทอ.) สถาบันเวชศาสตร์การบินกองทัพอากาศ
 
== ทหารประเภทอื่น ๆ ==
*'''ทหารพราน''' เป็นกำลังทหารราบเบา[[กึ่งทหาร]]ซึ่งลาดตระเวนตามแนวชายแดนไทยและเป็นส่วนหนึ่งของ[[กองทัพไทย]] ทหารพรานทำงานร่วมกับ[[ตำรวจตระเวนชายแดน]] แต่ถูกฝึกและติดอาวุธให้ทำการรบ ขณะที่ตำรวจตระเวนชายแดนเป็นหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายมากกว่า และ[[ทหารพรานนาวิกโยธิน]]ในสังกัดกองทัพเรือนั้น ขึ้นการบังคับบัญชากับกองพลนาวิกโยธิน
*'''ทหารกองหนุนหรือกองกำลังสำรอง''' คือ ผู้ที่ปลดจากทหารกองประจำการ(ทหารเกณฑ์)
*'''นักศึกษาวิชาทหาร''' (นศท. หรือ รด.) คือ บุคคลซึ่งอยู่ในระหว่างเข้ารับการฝึกวิชาทหารตามหลักสูตรที่กระทรวงกลาโหมกำหนด ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการฝึกวิชาทหาร พ.ศ. 2503 เป็นกำลังพลสำรองของกองทัพไทย ภายใต้การควบคุมของ โรงเรียนรักษาดินแดน ศูนย์การนักศึกษาวิชาทหาร หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (อักษรย่อ: รร.รด.ศศท.) ถือว่าเป็นทหารกองหนุนหรือกองกำลังสำรองประเภทหนึ่ง
 
= กองกำลังกึ่งทหาร =
 
*'''กองอาสารักษาดินแดน''' (คำย่อ: อส., [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกอง[[กำลังกึ่งทหาร]] ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบัน[[พระมหากษัตริย์]] รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัด[[กรมการปกครอง]] [[กระทรวงมหาดไทย]] มี[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]]เป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งและประธานกรรมการ
*'''ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน''' (ชรบ.) ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากนายอำเภอให้ปฏิบัติหน้าที่รักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน และให้เป็นผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงาน ตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะปกครองท้องที่ เรียกโดยย่อว่า
*'''อาสาสมัครตำรวจบ้าน''' (อสตร.) อาสาสมัครที่เป็นผู้ช่วยของเจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
*'''อาสาสมัครรักษาหมู่บ้าน'''(อรบ.) อาสาสมัครที่เป็นผู้ช่วยของเจ้าหน้าที่ในสังกัดกระทรวงมหาไทย
*'''อาสาสมัครรักษาเมือง'''(อรม.) อาสาสมัครที่เป็นผู้ช่วยของเจ้าหน้าที่ในสังกัดกระทรวงมหาไทย
*'''ไทยอาสารักษาชาติ'''(ทสปช.) อาสาสมัครที่เป็นผู้ช่วยของเจ้าหน้าที่ในสังกัดกอ.รมน.
*'''อาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง''' (อพป.) อาสาสมัครที่เป็นผู้ช่วยของเจ้าหน้าที่ในสังกัดกระทรวงมหาไทย
*'''ลูกเสือชาวบ้าน''' เป็นกลุ่มของชาวบ้านที่มาทำประโยชน์ให้แก่สังคมผ่านการลูกเสือ โดยที่มีการทำงานหรือการเข้าค่ายต่าง ๆ คล้ายกับลูกเสือที่มีการเรียนการสอนตามโรงเรียน เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2512 โดยตำรวจตระเวนชายแดน ได้ฝึกสอนให้ชาวบ้านรู้จักดูแลความปลอดภัยในหมู่บ้าน การป้องกันตนเอง ตลอดจนการสอดแนมรักษาความปลอดภัยตามแนวชายแดนเป็นอันดับต้น (เพื่อป้องกันการคุกคามของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย) โดยการฝึกได้นำเอาหลักในการฝึกวิชาลูกเสือมาเป็นแนวทางปฏิบัติ ภายหลังได้รับการขยายไปสู่ทั่วทุกภูมิภาคและทุกจังหวัดของพื้นที่ประเทศไทย เนื่องจากเป็นองค์กรที่สามารถเสริมสร้างให้ประชาชนได้มีความผูกพัน เสริมสร้างความรักความสามัคคีในหมู่คณะได้เป็นอย่างดี จึงเป็นเหตุให้มีผู้ใช้ชื่อของลูกเลือชาวบ้านเข้าไปร่วมในการเคลื่อนไหวทางสังคมด้วย เช่น เหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 และเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 เป็นต้น
 
ปัจจุบันแม้ว่ากิจการลูกเสือชาวบ้านจะได้ลดบทบาทและความสำคัญลงไป แต่ก็ยังมีการจัดฝึกอบรมบ้างตามจังหวัดต่าง ๆ อยู่พอสมควร
 
==อดีตกองกำลังกึ่งทหารในประเทศไทย==
*'''กองเสือป่า''' (อังกฤษ: Wild Tiger Corps) เป็นกองกำลังกึ่งทหารที่จัดตั้งขึ้นในลักษณะกองอาสาสมัครรักษาดินแดนหน่วยงานแรกในประเทศไทย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าๆให้จัดตั้งกองเสือป่าขึ้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 เพื่อฝึกอบรมข้าราชการพ่อค้าและพลเรือนให้ได้รับการฝึกหัดวิชาการทหาร ให้ราษฎรที่มีคุณภาพ มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมายชาติบ้านเมืองและปลูกฝังให้พสกนิกรมีความจง รักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และส่งเสริมความกล้าหาญ เข้มแข็ง สามัคคีและเสียสละโดยเสือป่าทำหน้าที่ช่วยพนักงานเจ้าหน้าที่รักษาความสงบทั่วไปในบ้านเมือง ทั้งนี้ กิจการลูกเสือไทยซึ่งได้จัดตั้งขึ้นในเวลาต่อมาถือเป็นสาขาหนึ่งของกองเสือป่าด้วย
ภายหลังการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2468 กิจการเสือป่าได้ซบเซาและยุติลงอย่างเงียบๆ โดยไม่เคยมีการประกาศยุบเลิกหน่วยงานอย่างเป็นทางการ แต่ปรากฏหลักฐานการสิ้นสภาพอย่างสมบูรณ์เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติให้ทรัพย์สินกองเสือป่าตกเป็นของคณะลูกเสือแห่งชาติ พุทธศักราช 2482 เพื่อโอนทรัพย์สินของกองเสือป่าไปอยู่ในความดูแลของคณะลูกเสือแห่งชาติทั้งหมด คงเหลือแต่เพียงกิจการลูกเสือเท่านั้นที่ดำเนินการสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน
*'''ยุวชนทหาร''' (อักษรย่อ: ยวท.) คือ เยาวชนที่ได้รับการฝึกวิชาทหารขึ้นในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2477 - 2490 เนื่องจากรัฐบาลไทยสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามมีนโยบายพื้นฟูการฝึกวิชาทหารให้แก่ประชาชน ดำเนินการโดยกรมยุวชนทหาร กระทรวงกลาโหม (ณ ปี พ.ศ. 2481 ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นกรมเตรียมการทหารในปี พ.ศ. 2484)
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ทหาร"