ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prithsu (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขการเรียงพิมพ์อักษรไทย
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 4:
| วันที่ก่อตั้ง = [[21 กันยายน]] [[พ.ศ. 2537]]
| คณบดี = ดร.ณรงค์ ปรางค์เจริญ
| สีประจําคณะประจำคณะ = {{color box|#99ff33}} สีเขียวอ่อน (Greenyellow) [#99ff33]
| ที่อยู่ = วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล 25/25 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายาตำบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑลอำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
| website = [https://www.music.mahidol.ac.th College of Music, Mahidol University]
| facebook = [https://www.facebook.com/mahidolmusic mahidolmusic]
|ชื่อย่อ = MS (MSMU)|ชื่อภาษาอังกฤษ = College of Music, Mahidol University}}
 
'''วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล''' ({{lang-en|College of Music, Mahidol University}}) เป็นวิทยาลัยดนตรีที่ใหญ่และสมบูรณ์แบบที่สุดแห่งแรกในประเทศไทย มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่ง ในกํากับของกำกับของ[[มหาวิทยาลัยมหิดล]] เปิดสอนวิชาเกี่ยวกับ[[ดนตรี]]โดยเฉพาะ ตั้งแต่ระดับเตรียมอุดมดนตรี (ม.4 – ม.6) ไปจนถึงระดับปริญญาเอก โดยเป็นสถาบันเดียวในประเทศที่เปิดสอนวิชาดนตรีในระดับปริญญาเอก มีอาจารย์ที่ชํานาญชำนาญในเครื่องดนตรีแต่ละชนิดโดยเฉพาะ เป็นสถาบันเดียวในประเทศที่เปิดสอนทั้งด้านดนตรีไทยและดนตรีสากล ปัจจุบันวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสถาบันดนตรีแห่งแรกของประเทศไทยและแห่งแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ผ่านการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานสถาบันดนตรีในยุโรป ล่าสุดหลักสูตรระดับปริญญาตรีได้รับการรับรองจาก MusiQuE ซึ่งเป็นมาตรฐานทัดเทียมสถาบันดนตรีชั้นนํานำระดับโลก
 
== ประวัติ ==
การขยายการศึกษาสาขาวิชาดนตรี ก่อนที่จะมาเป็นวิทยาลัยดุริยางคศิลป์นั้น ได้มีบุคลากรที่มีชื่อเสียงด้านดนตรีหลายท่าน อาทิ ศ. นพ.สุเอ็ด คชเสนี, ศ. นพ.สุพจน์ อ่างแก้ว, ศ. นพ.วราวุธ สุมาวงศ์, ศ. นพ.อดุลย์ วิริยเวชกุล และ ศ. นพ.[[พูนพิศ อมาตยกุล]] ช่วยกันสนับสนุนผลักดัน ให้ผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดลได้เห็นความสําคัญสำคัญของวิชาการดนตรี และมีการจัดสัมมนาวิชาการดนตรีขึ้น
[[ไฟล์:Environment of MSMU.jpg|thumb|right|300px|บรรยากาศสภาพแวดล้อมภายในวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
[[ไฟล์:Artist Residency MU Salaya.jpg|thumb|right|300px|เรือนศิลปิน วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]]
เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2530 ศ. นพ.ณัฐ ภมรประวัติ อธิการบดีในขณะนั้น ได้จัดตั้งโครงการพัฒนาวิชาการดนตรีขึ้น และได้โอนย้ายนาย[[สุกรี เจริญสุข]] ซึ่งจบปริญญาเอกสาขาดนตรี ข้าราชการสังกัด[[วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา]] กระทรวงศึกษาธิการ มาเป็นหัวหน้าโครงการ โดยเปิดสอนวิชาดนตรีให้เป็นวิชาเลือกในระดับปริญญาตรีขึ้น ประกอบด้วยวิชาดนตรีวิจักษ์ การขับร้องประสานเสียง วิชารวมวง มโหรี วงปี่พาทย์ มีวิชาดนตรีเป็นวิชาเลือกในมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นครั้งแรก จัดสัมมนาวิชาการดนตรี ในขณะเดียวกันก็ได้สร้างหลักสูตรมหาบัณฑิต แขนงดนตรี ขึ้นในแขนงวัฒนธรรมศึกษาด้วย
 
ในปีการศึกษา 2532 มหาวิทยาลัยได้เปิดรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา แขนงวัฒนธรรมดนตรี โดยสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท ซึ่งเป็นหลักสูตรบัณฑิตศึกษาดนตรีแรกของไทย ในปีการศึกษา 2536 มหาวิทยาลัยได้จัดตั้ง “สํานักงานสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาวิชาการดนตรี” ขึ้นภายใต้บัณฑิตวิทยาลัย โดยความช่วยเหลือจากคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยในขณะนั้น คือ รศ. นพ.มันตรี จุลสมัย เพื่อเปิดสอนแขนงวิชาดนตรีศึกษาและแขนงวิชาดนตรีวิทยา
 
ต่อมามหาวิทยาลัยมหิดลได้มีโครงการจัดตั้งวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ขึ้น โดยอธิการบดีในขณะนั้นคือ ศ. นพ.ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ชื่อ “วิทยาลัยดุริยางคศิลป์” เป็นชื่อที่ ศ. นพ. อดุลย์ วิริยเวชกุล เป็นผู้เสนอและเป็นที่ยอมรับ หมายถึงวิทยาลัยดนตรีที่มุ่งสร้างนักดนตรีที่มีความสามารถในการเล่นดนตรี เป็นวิทยาลัยของผู้ที่มีศิลปะทางดนตรี
 
* วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2538 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ได้เปิดโครงการสอนดนตรีสําหรับสำหรับบุคคลทั่วไปขึ้น ณ ศูนย์การค้าเสรีเซ็นเตอร์ เพื่อบริการวิชาการดนตรีสําหรับสำหรับประชาชน โดยมีโครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษารองรับ ซึ่งมีผู้ปกครองและผู้สนใจเข้าศึกษาในโครงการจํานวนมากจำนวนมาก สิ่งที่สําคัญสำคัญที่สุดคือได้พัฒนาการศึกษาดนตรีของเด็กตั้งแต่เล็ก และสร้างบรรยากาศการเรียนดนตรีให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
 
* ในปี พ.ศ. 2539 อธิการบดีในขณะนั้นคือ ศ. นพ.[[อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] ได้พัฒนาโครงการจัดตั้งวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ เป็นวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ให้มีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่ง ในกํากับกำกับของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ได้ขยายการศึกษากว้างขวางขึ้น ทั้งการศึกษาและกิจกรรมดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นวิทยาลัยที่เปิดสอนและวิจัยดนตรีทุกสาขา ได้จัดการสอนดนตรีสําหรับสำหรับบุคคลทั่วไป หลักสูตรเตรียมอุดมดนตรี ระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา
 
* ในปี พ.ศ. 2549 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เปิดโครงการสอนดนตรีสําหรับสำหรับบุคคลทั่วไปขึ้นที่ศูนย์การค้า[[สยามพารากอน]] เพื่อบริการวิชาการดนตรีสําหรับสำหรับประชาชน โดยมี “โครงการวิจัยพรสวรรค์ศึกษา” รองรับ
 
* ในปี พ.ศ. 2550 เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงมีพระชนมพรรษา 80 พรรษา วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดสร้างสวนพฤกษาดุริยางค์ เป็นสถานที่รวบรวมต้นไม้ที่ใช้ทําเครื่องดนตรีทำเครื่องดนตรี 63 ชนิด ทั้งเครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีพื้นบ้าน รวมไปถึงเครื่องดนตรีในภูมิภาคอุษาคเนย์
 
* ในปี พ.ศ. 2552 อาคาร D สร้างเสร็จสิ้นสมบูรณ์ใช้งานได้ พร้อมก่อตั้งสํานักพิมพ์สำนักพิมพ์วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล หรือ College of Music, Mahidol University Publishing (CMMU publishing) เพื่อจัดพิมพ์หนังสือวิชาการเพลงดนตรีและวิชาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการดนตรี 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ได้ทําการเปิดทำการเปิด ร้าน Music square เป็นร้านอาหารและสถานที่รับรองแขก ต่อมา วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 เริ่มโครงการ “ศาลายาลิงก์” เพื่อรองรับการเดินทางในเส้นทางศาลายา – สถานีรถไฟฟ้า BTS วงเวียนใหญ่ ต่อมาเปลี่ยนเป็นสถานีบางหว้า และเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม โครงการสอนดนตรีสําหรับสำหรับบุคคลทั่วไป ณ ศูนย์การค้าเสรีเซ็นเตอร์ ถนนศรีนครินทร์ กรุงเทพฯ ได้ย้ายมาเปิดทําการทำการ ณ ชั้น 4 ศูนย์การค้าซีคอนสแควร์ บนพื้นที่กว่า 1,100 ตารางเมตร
 
* วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ได้ทําทำการวางศิลาฤกษ์อาคารพิพิธภัณฑ์ดนตรีอุษาคเนย์ ซึ่งเป็นโครงการก่อสร้างพิพิธภัณฑ์ดนตรีที่มีความสมบูรณ์และใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอุษาคเนย์
 
* วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2555 วางศิลาฤกษ์โครงการก่อสร้างอาคารพัฒนาวิชาชีพดนตรีสู่ความเป็นเลิศ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อเป็นโรงเรียนเตรียมอุดมดนตรี (ประจําประจำ) หลักสูตรนานาชาติ สําหรับสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6<ref>[http://www.music.mahidol.ac.th/th/history/ ประวัติวิทยาลัย]</ref>
 
== ทำเนียบผู้อํานวยการอำนวยการ / คณบดี ==
 
{| class="wikitable" width=100%
บรรทัด 42:
! colspan="2" style="background: #99ff33" align="center" | <span style="color:black"> โครงการพัฒนาวิชาการดนตรี มหาวิทยาลัยมหิดล
|-
! style="background: Aquamarine; color:Black;"| รายนามผู้อํานวยการอำนวยการ
! style="background: Aquamarine; color:Black;"| วาระการดํารงตําแหน่งดำรงตำแหน่ง
|-
| align = "left" | 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สุกรี เจริญสุข
บรรทัด 50:
! colspan="2" style="background: #99ff33" align="center" | <span style="color:black"> วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล
|-
! style="background: Aquamarine; color:Black;"| รายนามผู้อํานวยการอำนวยการ
! style="background: Aquamarine; color:Black;"| วาระการดํารงตําแหน่งดำรงตำแหน่ง
|-
| align = "left" | 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สุกรี เจริญสุข
บรรทัด 59:
|-
! style="background: Aquamarine; color:Black;"| รายนามคณบดี
! style="background: Aquamarine; color:Black;"| วาระการดํารงตําแหน่งดำรงตำแหน่ง
|-
| align = "left" | 1. รองศาสตราจารย์ ดร.สุกรี เจริญสุข
บรรทัด 97:
* แขนงวิชาเอกการแสดงดนตรีและการสอนดนตรี
* แขนงวิชาเอกการประพันธ์และทฤษฎีดนตรี
* แขนงวิชาเอกการอํานวยอำนวยเพลง
* แขนงวิชาเอกการบรรเลงเปียโนประกอบ
* แขนงวิชาเอกดนตรีแจ๊ส
บรรทัด 105:
* แขนงดนตรีศึกษา (หลักสูตรภาคพิเศษ)
* แขนงธุรกิจดนตรี
* แขนงดนตรีบําบัติบำบัติ
| valign = "top" |
''' สาขาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต '''
บรรทัด 113:
* แขนงวิชาเอกการแสดงดนตรีและการสอนดนตรี
* แขนงวิชาเอกการประพันธ์และทฤษฎีดนตรี
* แขนงวิชาเอกการอํานวยอำนวยเพลง
|-
|}
บรรทัด 120:
== ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงในวงการดนตรีในประเทศไทย ==
*พิสุทธิ์ ประทีปะเสน (อ้น) สาขา Jazz Studies [มือแซกโซโฟน วง [[T-Bone]]] {ปริญญาตรี รุ่น 1}
*ธรรศตะวัน ไขแสง (ตะวัน) สาขา Music Technology [อาจารย์ประจําสาขาประจำสาขา Music Entertainment วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล] {ปริญญาตรี รุ่น 1}
*ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภดล ทิพยรัตน์ (นน) สาขา Musicology [คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์] {ปริญญาเอก รุ่นที่ 1}
*ดร.ปัณญพัสตร์ ธรรมรัตน์ (ฟ้าใส) สาขา Classical Performance (นักร้อง วง Baba-e’, ครูประจําบ้านประจำบ้าน AF) {ปริญญาตรี รุ่น 1}
*[[วรางคณิภา พวงธนะสาร]] (น็อตโตะ) สาขา Classical Performance (นักร้อง) {ปริญญาตรี รุ่น 1}
*ธุรดี อารีรอบ (อิ๋งอิ๋ง) สาขา Classical Performance [ศิลปิน, นักร้อง, นักล่าฝัน [[AF4]]] {ปริญญาตรี รุ่น 1}
*รวิษฎา สุกิตติวรกุล (แคท) {นักร้อง วง Baba-e’}
*ตะวัน จิระศรีปัญญา (หวี) [มือเบส วง Kobe, อาจารย์ประจําสาขาประจำสาขา Music Entertainment วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล]
*ธีรัช เลาห์วีระพานิช (กุ๊ก) สาขา Jazz Studies [มือแซกโซโฟน วง [[T-Bone]]] {ปริญญาตรี รุ่น 2}
*[[ชลาทิศ ตันติวุฒิ]] (เบน) [ศิลปิน, นักร้อง] {ปริญญาตรี รุ่น 3}
*สุกฤษ์ ศรีเปารยะ (สุ่ม) [มือเบส วง [[Clash]]] {ปริญญาตรี รุ่น 3}
*วีรณัฐ ทิพยมณฑล (แจ๊ป) สาขา Music Business [นักร้องนํานำและมือกีต้าร์ วง The Richman Toy] {ปริญญาตรี รุ่น 5}
*วสุ ปาลิโพธิ (กิ๊ป) สาขา Music Technology [อดีตมือกีต้าร์ วง The Richman Toy] {ปริญญาตรี รุ่น 5}
*นันทพร เทพภูษาวัฒนา (ฝัน) สาขา Music Entertainment [นักร้อง วง Baba-e’] {ปริญญาตรี รุ่น 5}
*ประณัฐ ธรรมโกสิทธิ์ (แป๊บ) สาขา Music Technology [มือกีตาร์ วง [[Sweet Mullet]]] {ปริญญาตรี รุ่น 5}
*นฤดม ตันทนานนท์ (อั๋น) สาขา Music Technology [มือกีตาร์ วง [[Sweet Mullet]]] {ปริญญาตรี รุ่น 5}
*อัคราวิชญ์ พิริโยดม (เช่) สาขา Jazz Studies [มือเบส วง The Richman Toy, อาจารย์ประจําสาขาประจำสาขา Music Entertainment วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล] {ปริญญาตรี รุ่น 6}
*[[พัดชา เอนกอายุวัฒน์]] (พัด) สาขา Music Technology (ศิลปิน, นักแสดง, นักร้อง, นักล่าฝัน [[AF2]]) {เตรียมอุดมดนตรีรุ่น 2, ปริญญาตรี รุ่น 6}
*ศิรดา ใจประสงค์ (ปริญญ์) สาขา Composition [มือคีย์บอร์ด วง Senorita] {ปริญญาตรี รุ่น 6}
*[[มุขพล จันทรวงศ์]] (ดอดจ์) สาขา Music Technology [นักร้องนํานำและมือกีตาร์ วง Bogie Dodge] {ปริญญาตรี รุ่น 6}
*สฤษฎ ตันเป็นสุข (สฤษฎ) สาขา Jazz Studies [มือทรัมเป็ต วง [[T-Bone]]] {ปริญญาตรี รุ่น 8}
*[[เมธัส ตรีรัตนวารีสิน]] (แจ็ค) [ศิลปิน, นักร้อง, นักแสดง, นักล่าฝัน [[AF4]]] {ปริญญาตรี รุ่น 10}
บรรทัด 150:
*แทนทวิช ทวิชศรี (โซ่) สาขา Music Entertainment [มือกลอง วง สมเกียรติ ผู้ชนะ Coke Music Awards 2010] {ปริญญาตรี รุ่น 11}
*[[ตรีรัตน์ ศิริจันทโรภาส]] (ปุ๊น) สาขา Music Business [ศิลปิน, มือคีย์บอร์ด วง April Fools’ Day] {ปริญญาตรี รุ่น 11}
*คนาวิน เชื้อแถว (โบ๊ท) สาขา Music Entertainment [นักร้องนํานำ วง สมเกียรติ ผู้ชนะ Coke Music Awards 2010] {ปริญญาตรี รุ่น 12}
*ภูริช พันธุ์รุ่ง (บอส) สาขา Music Entertainment [มือกีต้าร์ วง สมเกียรติ ผู้ชนะ Coke Music Awards 2010] {ปริญญาตรี รุ่น 12}
*ธนญ แสงเล็ก (นน) สาขา Music Entertainment [มือกีต้าร์ วง สมเกียรติ ผู้ชนะ Coke Music Awards 2010] {ปริญญาตรี รุ่น 12}
*ประวิทย์ ฮันสเตน (ยิ้ม) สาขา Music Entertainment [มือกลอง วง สมเกียรติ] {ปริญญาตรี รุ่น 12}
*พีระนัต สุขสําราญสำราญ (เงาะ) สาขา Music Entertainment [มือกีตาร์ วง The Richman Toy] {ปริญญาตรี รุ่น 12}
*วิภาวี เตชะสุรางค์ (วี) สาขา Music Entertainment [ตัวแทนภาคเหนือจากรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 7] {ปริญญาตรี รุ่น 12}
*[[บุตรศรัณย์ ทองชิว]] (นํ้าตาล) สาขา Music Business [ศิลปิน, นักร้อง] {ปริญญาตรี รุ่น 12}
*ลินท์พิตา จินดาภู (หญิง) สาขา Music Business [รองชนะเลิศอันดับ 1 จากรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 11] {ปริญญาตรี รุ่น 12}
*ภัทรภร แสงสําอางค์สำอางค์ (ซิน) สาขา Music Entertainment [ผู้เข้ารอบ 20 คนสุดท้ายจากรายการ เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 10 และ ปี 11] {ปริญญาตรี รุ่น 13}
*ธันยชนิต ศรีสมเพชร (เต้ย) สาขา Music Entertainment [นักล่าฝัน AF10] {ปริญญาตรี รุ่น 13}
*[[วทัญญู จิตติเสถียรพร]] (โฟนลิ้ง) สาขา Classical Performance {ปริญญาตรี รุ่น 13}