ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎ความคืบหน้า: แก้คำตกหล่นที่เติมลงไปถูกต้องแล้วครับ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 339:
 
* 25 มกราคม พ.ศ. 2564 ภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า รฟม. อาจเลื่อนการเปิดดำเนินโครงการออกไปเป็นช่วงต้นปี พ.ศ. 2565 จากแผนเดิมที่จะเปิดให้บริการบางส่วนใน พ.ศ. 2564 เนื่องมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ครั้งที่สองที่รุนแรงกว่าครั้งแรก ทำให้เกิดภาวะขาดแคลนแรงงาน การนำเข้าระบบและขบวนรถจากประเทศจีนทั้งหมดเกิดความล่าช้า รวมถึงความล่าช้าจากพิธีการทางศุลกากรที่ต้องเพิ่มความระมัดระวังในการทำงานเป็นพิเศษ<ref>[https://www.prachachat.net/property/news-600665 รถไฟฟ้า “สีชมพู-เหลือง” ติดโควิด เลื่อนเปิดหวูด ต.ค. เป็นต้นปี’65]</ref>
 
* 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติส่วนต่อขยายรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงศรีรัช - เมืองทองธานี ระยะทาง 3 กิโลเมตร ที่กิจการร่วมค้าบีเอสอาร์ (บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด) เสนอลงทุนเพิ่มเติมภายใต้วงเงิน 4,230 ล้านบาท เข้าสู่สัมปทานหลัก คาดว่าจะเริ่มก่อสร้างได้ใน พ.ศ. 2564 และสามารถเปิดให้บริการได้ภายใน พ.ศ. 2567 และคาดว่าจะมีผู้โดยสารใช้บริการ 13,785 คน-เที่ยว/วัน<ref>[https://www.kaohoon.com/content/421608 ฉลุย! ครม.ไฟเขียวส่วนต่อขยาย “สีชมพู” เข้าเมืองทองฯ กรอบลงทุน 4.2 พันลบ.]</ref>
 
==ส่วนต่อขยาย==
16,774

การแก้ไข