ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะราษฎร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
การสะกด
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 25:
คณะราษฎรเกิดขึ้นจากการประชุมของคณะผู้ก่อการในเดือนกุมภาพันธ์ 2469 จากนั้นมีการสมัครสมาชิกเพิ่ม จนในปี 2475 ยึดอำนาจการปกครองแผ่นดินจาก[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของ[[ประเทศสยาม]] จาก[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]มาเป็น[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] แม้ว่าพระมหากษัตริย์และฝ่าย[[กษัตริย์นิยม]]จะต่อต้านคณะราษฎรทุกวิถีทางก็ตาม เช่น [[รัฐประหารในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2476|การปิดสภาฯ]], [[กบฏบวรเดช]] และ[[กบฏพระยาทรงสุรเดช]] แต่คณะราษฎรเป็นฝ่ายชนะ และมีบทบาทอย่างสูงในการเมืองไทยแทนสถาบันพระมหากษัตริย์ในช่วงปี 2481–90 อย่างไรก็ดี บรรยากาศหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]และ[[การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]]ทำให้ฝ่ายกษัตริย์นิยมสบช่องทวงอำนาจคืน จนสำเร็จใน[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490]] ซึ่งสมาชิกคณะราษฎรหมดอำนาจไปโดยสิ้นเชิง คงเหลือเพียงจอมพล ป. พิบูลสงครามซึ่งไม่มีอำนาจดังเก่าแล้ว
 
มรดกของคณะราษฎรถูกโจมตีในเวลาต่อมาว่าเป็นเผด็จการทหารและ "ชิงสุกก่อนห่าม" และมีการยกพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็น "บิดาแห่งประชาธิปไตยไทย" แทน<ref name="ณัฐพล" />{{rp|54}}
 
แกนนำคณะราษฎร 1. อานนท์ 2.รุ้ง ปนัสยา 3.เพนกวิน พริษฐ์ ชีวารักษ์. 4.ไมค์ ภานุพงศ์ จาดนอก
 
== การก่อตั้ง ==