ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1:
{{Infobox diseasemedical condition (new)
| Namename = เว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน<br /><small> (Ventricular fibrillation) </small>
| Imageimage = Ventricular fibrillationVentricular_fibrillation.png
| Captioncaption = ภาพคลื่นไฟฟ้าหัวใจแสดงให้เห็น VF
| DiseasesDBfield = 13798 = [[Cardiology]]
| symptoms = [[Cardiac arrest]] with [[loss of consciousness]] and no [[pulse]]<ref name=Bal2016/>
| ICD10 = {{ICD10|I|49|0|i|40}}
| complications =
| ICD9 = {{ICD9|427.41}}
| onset =
| duration =
| types =
| causes = [[Coronary heart disease]] (including [[myocardial infarction]]), [[valvular heart disease]], [[cardiomyopathy]], [[Brugada syndrome]], [[long QT syndrome]], [[intracranial hemorrhage]]<ref name=NIH2011/><ref name=Bal2016/>
| risks =
| diagnosis = [[Electrocardiogram]]<ref name=Bal2016/>
| differential = [[Torsades de pointes]]<ref name=Bal2016/>
| prevention =
| treatment = [[Cardiopulmonary resuscitation]] (CPR) with [[defibrillation]]<ref name=AHA2015Part1/>
| medication =
| prognosis = Survival rate 17% (out of hospital), 46% (in hospital)<ref name=OHCA2010/><ref name=Bal2016/>
| frequency = ~10% of people in cardiac arrest<ref name=Bal2016/>
| deaths =
}}
'''เว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน''' ({{lang-en|ventricular fibrillation,VF, V-Fib}}) หรือ '''หัวใจห้องล่างเต้นแผ่วระรัว''' เป็นภาวะซึ่งมีการหดตัวของ[[กล้ามเนื้อหัวใจ]][[หัวใจห้องล่าง|ห้องล่าง]]อย่างไม่สัมพันธ์กัน จึงเหมือนเป็นการเต้นแผ่วระรัวซึ่งไม่ทำให้เกิด[[การไหลเวียนของเลือด]] ไม่สามารถคลำ[[ชีพจร]]ได้ เป็นภาวะ[[หัวใจเต้นผิดจังหวะ]]ที่ยืนยันการวินิจฉัยได้ด้วย[[การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ]]เท่านั้น ถือเป็น[[ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์]]ที่จำเป็นต้องได้รับ[[การกู้ชีพ]]ทันทีเนื่องจากหากการเต้นแบบฟิบริลเลชันนี้ดำเนินไปอีกไม่กี่วินาทีอาจกลายเป็น[[asystole|หัวใจหยุดเต้น]]ได้ ภาวะเช่นนี้ทำให้เกิด[[cardiogenic shock|ภาวะช็อคเหตุหัวใจ]] ไม่มีการไหลเวียนของเลือด และทำให้[[หัวใจตายเฉียบพลัน|เสียชีวิต]]ได้ภายในไม่กี่นาที หากได้รับการกู้ชีพขึ้นมาไม่ทันท่วงที ทำให้สมอง[[hypoxia|ขาดออกซิเจน]]เกินกว่าระยะเวลาหนึ่ง (ประมาณ 5 นาทีที่อุณหภูมิห้อง) อาจมีความเสียหายของสมองอย่างไม่สามารถทำให้กลับคืนเป็นปกติได้หรือถึงขั้น[[สมองตาย]]ได้
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{Medical resources
| DiseasesDB = 13798
| ICD10 = {{ICD10|I|49|0|i|40}}
| ICD9 = {{ICD9|427.41}}
| ICDO =
| OMIM =
| MedlinePlus = 007200
| eMedicineSubj =
| eMedicineTopic = 158712
| MeshID = D014693
| ICD10CM = {{ICD10CM|I49.01}}
}}
'''เว็นทริคูลาร์ ฟิบริลเลชัน''' ({{lang-en|ventricular fibrillation,VF, V-Fib}}) หรือ '''หัวใจห้องล่างเต้นแผ่วระรัว''' เป็นภาวะซึ่งมีการหดตัวของ[[กล้ามเนื้อหัวใจ]][[หัวใจห้องล่าง|ห้องล่าง]]อย่างไม่สัมพันธ์กัน จึงเหมือนเป็นการเต้นแผ่วระรัวซึ่งไม่ทำให้เกิด[[การไหลเวียนของเลือด]] ไม่สามารถคลำ[[ชีพจร]]ได้ เป็นภาวะ[[หัวใจเต้นผิดจังหวะ]]ที่ยืนยันการวินิจฉัยได้ด้วย[[การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ]]เท่านั้น ถือเป็น[[ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์]]ที่จำเป็นต้องได้รับ[[การกู้ชีพ]]ทันทีเนื่องจากหากการเต้นแบบฟิบริลเลชันนี้ดำเนินไปอีกไม่กี่วินาทีอาจกลายเป็น[[asystole|หัวใจหยุดเต้น]]ได้ ภาวะเช่นนี้ทำให้เกิด[[cardiogenic shock|ภาวะช็อคเหตุหัวใจ]] ไม่มีการไหลเวียนของเลือด และทำให้[[หัวใจตายเฉียบพลัน|เสียชีวิต]]ได้ภายในไม่กี่นาที หากได้รับการกู้ชีพขึ้นมาไม่ทันท่วงที ทำให้สมอง[[hypoxia|ขาดออกซิเจน]]เกินกว่าระยะเวลาหนึ่ง (ประมาณ 5 นาทีที่อุณหภูมิห้อง) อาจมีความเสียหายของสมองอย่างไม่สามารถทำให้กลับคืนเป็นปกติได้หรือถึงขั้น[[สมองตาย]]ได้
 
{{โรคหัวใจ}}