ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดักลาส แมกอาเธอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
[[ไฟล์:Douglas MacArthur lands Leyte.jpg|thumb|200px|พลเอกแมกอาร์เธอร์กลับคืนสู่ฟิลิปปินส์ใน[[การรบที่อ่าวเลเต]] หลังจากถอยจากการบุกของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2]]
 
พลเอกแห่งกองทัพ '''ดักลาส แมกอาร์เธอร์''' (Douglas MacArthur; [[26 มกราคม]] ค.ศ. 1880 - [[5 เมษายน]] ค.ศ. 1964) เป็นชาวอเมริกันที่ดำรงตำแหน่งเป็นนายพลระดับห้าดาวและจอมพลแห่ง[[กองทัพฟิลิปปินส์]] เขาเป็นเสนาธิการของกองทัพบกสหรัฐในช่วงปี ค.ศ. 1930 และมีบทบาทที่สำคัญใน[[สงครามแปซิฟิก|เขตสงครามแปซิฟิก]]ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เขาได้รับเหรียญ[[มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์]] สำหรับการปฏิบัติหน้าที่ของเขาใน[[การทัพฟิลิปปินส์ (ค.ศ. 1941-1942)|การทัพฟิลิปปินส์]] ซึ่งทำให้เขาและพ่อของเขาอย่าง[[อาเธอร์ แมกอาเธอร์ จูเนียร์]] เป็นสองพ่อลูกคนแรกที่ได้รับเหรียญนี้ เขาเป็นหนึ่งในห้าคนเท่านั้นที่ได้ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งยศเป็น[[พลเอกแห่งกองทัพ]]ใน[[กองทัพบกสหรัฐ|กองทัพสหรัฐ]] และเป็นเพียงคนเดียวที่ได้รับตำแหน่งยศเป็นจอมพลในกองทัพฟิลิปปินส์
จอมพล '''ดักลาส แมกอาร์เธอร์''' (Douglas MacArthur; [[26 มกราคม]] [[พ.ศ. 2423]] - [[5 เมษายน]] [[พ.ศ. 2507|2507]])
เป็น[[ทหารบก]]ชาว[[อเมริกัน]] ที่มีชื่อเสียงในการบัญชาการรบภาคพื้นแปซิฟิก ในสมัยสงคราม[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] เป็นผู้บัญชาการผู้ที่ให้ญี่ปุ่นจดสนธิสัญญาพ่ายแพ้ให้กับฝ่ายพันธมิตร ณ เรือประจัญบาน[[ยูเอสเอส มิสซูรี(BB-63)|ยูเอสเอส มิสซูรี]] นอกจากนี้เขายังเป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้ ญี่ปุ่น พัฒนาอย่างรวดเร็ว และยังเป็นผู้บัญชาการสมัย[[สงครามเย็น]] ใน[[สงครามเกาหลี]] อีกด้วย
 
เขาเติบโตในครอบครัวทหารใน American Old West แมกอาเธอร์เป็นผู้แทนนักเรียนที่กล่าวสุนทรพจน์ในวันรับประกาศนียบัตรที่โรงเรียนการทหารเท็กซัสตะวันตก(West Texas Military Academy) โดยที่เขาได้เรียนจบในโรงเรียนมัธยมและดำรงตำแหน่งยศเป็นกัปตันที่หนึ่งในโรงเรียนการทหารสหรัฐที่เวสต์พอยต์ ซึ่งเขาได้จบการศึกษาในอันดับสูงสุดของระดับชั้น ในปี ค.ศ. 1903 ในช่วงที่สหรัฐเข้ายึดครองเวรากรูซ ปี ค.ศ. 1914 เขาได้ปฏิบัติภารกิจการลาดตระเวน ซึ่งเขาได้รับการเสนอชื่อในการรับเหรียญมีเดล ออฟ ฮอนเนอร์ ในปี ค.ศ. 1917 เขาได้รับการเลื่อนตำแหน่งจากยศพันตรีมาเป็นพันเอก และกลายเป็นหัวหน้าเสนาธิการของ[[กองพลทหารราบที่ 42 (สหรัฐอเมริกา)|กองพล(เรนโบว์) ที่ 42]] ในการต่อสู้รบในแนวรบด้านตะวันตกในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] เขาได้ขึ้นสู่ตำแหน่งเป็นนายพลจัตวา ได้รับการเสนอชื่อในการรับเหรียญมีเดล ออฟ ฮอนเนอร์อีกครั้ง และได้รับเหรียญ[[ดิสทิงกวิชด์ เซอร์วิส ครอสส์]]ถึงสองครั้งและเหรียญ[[ซิลเวอร์ สตาร์]] ถึงเจ็ดครั้ง
==ประวัติ==
แมกอาเธอร์ นับว่าเป็นบุคคลที่มีต้นตระกูลทางทหารเรือมาตลอด โดยที่บิดาก็เป็นผู้บัญชาการทหารเรือในยุค ศตวรรษที่ 19 หรือแม้แต่ในสมัยสงครามกลางเมือง ตระกูลเพอร์รี่ อย่างเช่น [[โอลิเวอร์ แฮซาร์ด เพอร์รี]] ผู้ที่บัญชาการทัพเรือสหรัฐใน[[ยุทธการทะเลสาบอีรี]]จนชนะ และ [[แมทธิว ซี. เพอร์รี]]ผู้บัญชาการเรือ ที่สามารถทำให้ญี่ปุ่นในสมัยนั้นที่ปิดประเทศอยู่เปิดประเทศได้ พวกเขาก็ล้วนแล้วแต่เป็นบรรพบุรุษของ แมกอาเธอร์ นับว่าตระกูลของเขาเป็นตระกูลใหญ่ และเกี่ยวข้องกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาเป็นอย่างมาก แมกอาเธอร์ เกิดที่เมือง[[ลิตเติล ร็อก]] [[รัฐอาร์คันซอ]] เข้ารับการศึกษาวิชาทหารที่[[โรงเรียนนายร้อยเวสพอยต์]] เข้าเป็นทหารที่กรม[[ทหารช่าง]]เป็นครั้งแรก ใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ได้เข้าสู่สมรภูมิที่[[ประเทศฝรั่งเศส]]และได้รับ[[เหรียญกล้าหาญ]] จำนวนมาก
 
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1919 ถึง 1922 แมกอาเธอร์ได้ดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนายการโรงเรียนการทหารสหรัฐที่เวสต์พอยต์ ซึ่งเขาได้พยายามปฏิรูปหลายครั้ง งานที่ได้รับมอบหมายต่อไปของเขาคือในฟิลิปปินส์ ซึ่งในปี ค.ศ. 1924 เขาได้มีส่วนช่วยในการปราบปรามพวกลูกเสือมูตินของฟิลิปปินส์ ในปี ค.ศ. 1925 เขาได้กลายเป็นพลตรีที่อายุน้อยที่สุดในกองทัพ เขาได้ทำหน้าที่ในศาลทหารของนายพลจัตวา Billy Mitchell และเป็นประธานคณะกรรมการโอลิมปินอเมริกันในช่วง[[โอลิมปิกฤดูร้อน 1928|โอลิมปิกฤดูร้อน ค.ศ. 1928]] ใน[[กรุงอัมสเตอร์ดัม]] ในปี ค.ศ. 1930 เขาได้กลายเป็นเสนาธิการของกองทัพบกสหรัฐ ด้วยเหตุนี้ เขาจึงได้มีส่วนร่วมในการขับไล่กองทัพโบนัสผู้ประท้วงให้ออกไปจากรุงวอชิงตัน ดี ซี ในปี ค.ศ. 1932 และการจัดตั้งและจัดระเบียบของกองทัพน้อยอนุรักษ์พลเรือน เขาได้ลาออกจากกองทัพในปี ค.ศ. 1937 เพื่อกลายเป็นที่ปรึกษาทางทหารของรัฐบาลเครือจักรภพแห่งฟิลิปปินส์
ในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] แมกอาร์เธอร์ได้เป็นผู้บัญชาการกองกำลังสหรัฐฯ ในตะวันออกไกลและได้ช่วงชิงพื้นที่[[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ด้านตะวันตกเฉียงใต้จาก[[ประเทศญี่ปุ่น]] (พ.ศ. 2485-2488) โดยใช้[[ประเทศออสเตรเลีย]]เป็นฐาน ถ้อยวลีที่มีชื่อเสียงที่แมกอาเธอร์กล่าวแก่ชาวฟิลิปปินส์ระหว่างถอยหนีกองทัพญี่ปุ่นในฟิลิปปินส์คือ "ข้าพเจ้าจะกลับมา" (I Shall Return) และเมื่อกลับมาตามคำสัญญาหลังการถอยไปตั้งหลักที่ออสเตรเลีย แมกอาเธอร์ได้ประกาศอีกครั้งในขณะที่เดินลุยน้ำลงจากเรือที่[[อ่าวเลย์เต]]ว่า "ข้าพเจ้ากลับมาแล้ว" (I Have Returned) เมื่อวันที่ [[20 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2487]] ซึ่งเป็นภาพถ่ายข่าวสงครามที่ดีที่สุดภาพหนึ่ง
 
แมกอาเธอร์ได้ถูกเรียกตัวให้เข้าปฏิบัติหน้าที่ในปี ค.ศ. 1941 ในฐานะผู้บัญชาการกองกำลังกองทัพบกสหรัฐในตะวันออกไกล ได้เกิดหายนะที่ตามมาหลายครั้ง โดยเริ่มจากกองทัพอากาศของเขาได้ถูกทำลายลงในวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1941 และญี่ปุ่นบุกครองฟิลิปปินส์ ในไม่ช้า, กองกำลังของแมกอาเธอร์ได้ถูกบังคับให้ล่าถอยไปที่บาตาอัน ซึ่งพวกเขาติดอยู่ที่แห่งนั้นจนถึงเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1942 ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1942 แมกอาเธอร์ ครอบครัวของเขา และทหารลูกน้องของเขาได้ออกจากเกาะคอร์เรจิดอร์ด้วยเรือตอร์บิโดขนาดเล็ก และลี้ภัยไปยังออสเตรเลีย ที่ซึ่งแมกอาเธอร์ได้กลายเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด ในพื้นที่แปซิฟิกตะวันตกเฉียงใต้ เมื่อเขาได้เดินทางมาถึง แมกอาเธอร์ได้กล่าวสุนทรพจน์ซึ่งเขาได้ให้คำมั่นสัญญาว่า "ข้าพเจ้าจะกลับมา" ที่ฟิลิปปินส์ ภายหลังจากการสู้รบในแปซิฟิกมายาวนานกว่าสองปี เขาก็ได้ทำตามคำมั่นสัญญานั้น สำหรับการป้องกันฟิลิปปินส์ของเขา แมกอาเธอร์ก็ได้รับเหรียญมีเดล ออฟ ฮอนเนอร์ เขาได้ยอมรับ[[การยอมจำนนของญี่ปุ่น]]อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1945 บนเรือ[[ยูเอสเอส มิสซูรี (BB-63)|ยูเอสเอส มิสซูรี]] ซึ่งจอดทอดสมออยู่ที่อ่าวโตเกียว และเขาได้ควบคุมดูแล[[การยึดครองญี่ปุ่น]] ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945 ถึง ค.ศ. 1951 ในฐานะผู้ปกครองที่มีประสิทธิภาพของญี่ปุ่น เขาได้ควบคุมดูแลการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมอย่างกว้างขวาง เขาได้เป็นผู้นำใน[[กองบัญชาการสหประชาชาติ]]ใน[[สงครามเกาหลี]]ด้วยประสบความสำเร็จครั้งแรก อย่างไรก็ตาม การบุกครองเกาหลีเหนือที่เป็นที่ถกเถียงกัน ได้กระตุ้นให้เกิดการแทรกแซงของจีนและความพ่ายแพ้ครั้งใหญ่หลายต่อหลายครั้ง แมกอาเธอร์จึงถูกประธานาธิบดี [[แฮร์รี เอส. ทรูแมน|แฮร์รี่ เอส ทรูแมน]] ปลดออกจากกองบัญชาการซึ่งเป็นที่ถกเถียงกัน เมื่อวันที่ 11 เมษายน ค.ศ. 1951 ต่อมาเขาได้กลายเป็นประธานคณะกรรมของ[[เรมิงตัน แรนด์]]
แมกอาร์เธอร์ทำหน้าที่เป็นผู้รับการยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไขเป็นทางการของญี่ปุ่น เนื่องจากเขามีเชื้อสายของ พลเรือจัตวา [[แมทธิว ซี. เพร์รี|แมททิว คราวเรท เพอรี่]] ผู้ที่เคยบีบให้ญี่ปุ่นเปิดประเทศในปี พ.ศ. 2397 และดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการยึดครองประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ พ.ศ. 2488-2494 เป็นผู้จัดการให้มีการร่าง[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับใหม่ของญี่ปุ่นที่กำหนดให้สมเด็จพระจักรพรรดิอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญและห้ามมีกองกำลังทหาร ทำให้ญี่ปุ่นมุ่งเน้นด้านเศรษฐกิจและฟื้นตัวได้เร็วขึ้นเนื่องจากไม่ต้องใช้งบประมาณและทรัพยากรเพื่อการป้องกันประเทศ
 
ในปี พ.ศ. 2493 แมกอาร์เธอร์ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการ[[กองกำลังสหประชาชาติ]]ใน[[สงครามเกาหลี]] เกือบจะสามารถเอาชนะ[[เกาหลีเหนือ]] แต่ก็ถูกปลดออกจากหน้าที่ เนื่องจากการเตรียมบุก[[ประเทศจีน]] และเสนอให้มีการใช้[[ระเบิดปรมาณู]] กับประเทศจีนซึ่งเป็นผู้สนับสนุนหลักของเกาหลีเหนือในสงครามเกาหลี ซึ่งเป็นการพยายามฝ่าฝืนคำสั่งของประธานาธิบดี[[แฮร์รี เอส. ทรูแมน]]
 
{{birth|1880}}{{death|1964}}