ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัตถุอาร์โรคอท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 84:
 
}}
'''วัตถุอาร์โรคอท''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: ''Arrokoth'') หรือ '''486958 อาร์โรคอท''' ({{lang-en|486958 Arrokoth}}) มีชื่อในระบบว่า '''{{mp|2014 MU|69}}''' เป็น[[วัตถุพ้นดาวเนปจูน]]ใน[[แถบไคเปอร์]] มีเส้นผ่านศูนย์กลางตามแกนอยู่ที่ 36 กม. แบ่งเป็น[[Planetesimal|ซากดาว]]สองส่วน คือซากดาวก้อนใหญ่ยาว 21 กม. และซากดาวก้อนเล็กยาว 15 กม. ซากดาวก้อนใหญ่มีลักษณะแบนกว่าซากดาวก้อนเล็ก เมื่อ[[ยานนิวฮอไรซันส์]]เดินทางไปถึงในเวลา 05:33 น. ของวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2019 ตามเวลา UTC<ref name="explored"/><ref name="about"/><ref name="LPSC1611"/> มันจึงเป็นวัตถุอวกาศที่ไกลและเก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์สำรวจได้ยานอวกาศเดินทางไปถึง มีชื่อและได้รับชื่อเล่นในระบบเวลาต่อมาว่า 2014'''อัลติมา MU69ทูลี''' (Ultima Thule)

ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 1426 มิถุนายน .ศ. 25572014 โดย [[Marc Buie|มาร์ค บูอิ]] นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน และทีมงานผู้สร้าง[[ยานนิวฮอไรซันส์]]จากการใช้[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสังเกตุวัตถุใน[[แถบไคเปอร์]]ของภารกิจ[[ยานนิวฮอไรซันส์]] วัตถุอาร์โรคอทนี้มีคาบดาราคติ (ความเร็วในการโคจรรอบดวงอาทิตย์) 298 ปี จากการสำรวจของ[[ยานนิวฮอไรซันส์]]พบว่าวัตถุอาร์โรคอทนี้แบนกว่าที่คิดไว้ ซึ่งเดิมทีนักดาราศาสตร์คาดว่ามีลักษณะกลมคล้าย[[ตุ๊กตาหิมะ]] ด้วยลักษณะที่มีโค้งเว้าตรงกลางและพื้นผิวที่เรียบนี้ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจการเกิดดาวเคราะห์มากขึ้น โดยจากการสำรวจครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าดาวเคราะห์ไม่ได้เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต แต่เกิดจากการค่อยๆเกาะกันของเศษฝุ่นขนาดเล็ก ซึ่งหักล้างความแนวคิดเดิมที่ว่าดาวเคราะห์เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต
 
==อ้างอิง==
{{reflist|25em|refs=
{{รายการอ้างอิง}}
<ref name="explored">{{cite web
|title = New Horizons Successfully Explores Ultima Thule
|url = http://pluto.jhuapl.edu/News-Center/News-Article.php?page=20190101
|publisher = Applied Physics Laboratory
|website = pluto.jhuapl.edu
|date = 1 January 2019
|access-date = 1 January 2019
|archive-url = https://web.archive.org/web/20190101164301/http://pluto.jhuapl.edu/News-Center/News-Article.php?page=20190101
|archive-date= 1 January 2019
|url-status = live}}</ref>
 
<ref name="LPSC1611">{{cite conference
|title = A Contact Binary in the Kuiper Belt: The Shape and Pole of (486958) 2014 MU69
|url = https://www.hou.usra.edu/meetings/lpsc2019/pdf/1611.pdf
|display-authors = 6
|first1 = S. B. |last1 = Porter
|first2 = C. J. |last2 = Bierson
|first3 = O. |last3 = Umurhan
|first4 = R. A. |last4 = Beyer
|first5 = T. A. |last5 = Lauer
|first6 = M. W. |last6 = Buie
|first7 = A. H. |last7 = Parker
|first8 = M. |last8 = Kinczyk
|first9 = K. |last9 = Runyon
|first10 = W. M. |last10 = Grundy
|first11 = J. J. |last11 = Kavelaars
|first12 = A. M. |last12 = Zangari
|first13 = M. R. |last13 = El-Maarry
|first14 = D. T. |last14 = Britt
|first15 = J. M. |last15 = Moore
|first16 = A. J. |last16 = Verbiscer
|first17 = J. W. |last17 = Parker
|first18 = C. B. |last18 = Olkin
|first19 = H. A. |last19 = Weaver
|first20 = J. R. |last20 = Spencer
|first21 = S. A. |last21 = Stern
|conference = 50th Lunar and Planetary Science Conference 2019
|publisher = Lunar and Planetary Institute
|date = March 2019
|bibcode = 2019LPI....50.1611P}}</ref>
 
<ref name="about">{{cite web
|title = About Arrokoth
|url = http://pluto.jhuapl.edu/Arrokoth/Arrokoth.php
|publisher = Applied Physics Laboratory
|website = pluto.jhuapl.edu
|archive-url = https://web.archive.org/web/20191106172308/http://pluto.jhuapl.edu/Ultima/Ultima-Thule.php
|archive-date= 6 November 2019
|url-status = live}}</ref>
 
}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==