ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:การระงับข้อพิพาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
ย้อนการแก้ไขของ 2001:FB1:169:956D:A14A:5358:81AC:81EA (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย B20180
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 3:
นโยบายนี้อธิบายว่าคุณควรทำอย่างไรหากเกิดข้อพิพาทระหว่างคุณกับผู้เขียนคนอื่น ดูเคล็ดลับเพิ่มที่ [[WP:EQ|วิกิพีเดีย:มารยาทในวิกิพีเดีย]] และโปรดระลึกว่า วิกิพีเดียไม่ใช่เรื่องการเอาชนะ
 
[[พิเศษ:เรื่องที่เขียน/2001:FB1:169:956D:A14A:5358:81AC:81EA|2001:FB1:169:956D:A14A:5358:81AC:81EA]] 05:15, 3 กุมภาพันธ์ 2564 (+07)aaaa== การหลีกเลี่ยงข้อพิพาท =5543=
มีหลายวิธีที่ช่วยระงับข้อพิพาทได้อย่างเด็ดขาด ก่อนการใช้กระบวนการอย่างเป็นทางการหรือการแทรกแซงของบุคคลภายนอก ข้อพิพาทหรือความเดือดร้อนควรตอบสนองในขั้นต้นโดยการเข้าหาผู้เขียนที่เกี่ยวข้องและอธิบายสิ่งที่คุณเห็นว่าเป็นเหตุให้คัดค้านและเหตุใดคุณจึงคิดเช่นนั้นโดยสุจริตใจ ซึ่งสามารถทำได้ในหน้าอภิปรายของบทความหรือในหน้าผู้ใช้
 
422
=== มุ่งที่เนื้อหา ไม่ใช่ตัวบุคคล ===422
ขั้นแรกที่สำคัญที่สุดคือการมุ่งให้ความสนใจกับเนื้อหา ไม่ใช่ผู้ร่วมแก้ไข วิกิพีเดียมีรากฐานอยู่บนหลักการแห่งความร่วมมือ และการ[[WP:AGF|สันนิษฐานว่าความพยายามของผู้อื่นสุจริตใจ]]นั้นเป็นสิ่งที่สำคัญในทุก ๆ สังคม หากคุณพบว่าบทความมีส่วนใดคลาดเคลื่อนหรือไม่เป็นกลาง จงพยายามปรับปรุงตามความสามารถ หากการปรับปรุงนั้นมิอาจทำได้โดยง่ายและคุณไม่เห็นด้วยกับมุมมองที่แสดงในบทความนั้น อย่าเพียงแต่ลบออก แต่ควรปรับสมดุลตามที่คุณเห็นว่าจะทำให้บทความนั้นมี[[WP:NPOV|มุมมองที่เป็นกลาง]] ทั้งนี้ข้อความที่ปราศจากแหล่งอ้างอิงอาจถูกทำเครื่องหมายหรือนำออก จากนโยบายวิกิพีเดียที่ว่า[[WP:V|ข้อมูลต้องพิสูจน์ยืนยันได้]]