ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2564"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 64:
ประเทศเมียนมาอยู่ภายใต้การปกครองของทหารตั้งแต่[[รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2505|รัฐประหารในปี พ.ศ. 2505]] อองซานซูจี ลูกสาวของ[[อองซาน]] ผู้ก่อตั้งประเทศแบบสมัยใหม่ กลายเป็นนักเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยที่มีชื่อเสียง ในปี พ.ศ. 2533 [[การเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2533|การเลือกตั้งอย่างอิสระ]] โดยกองทัพอนุญาตให้จัดขึ้น ส่งผลให้พรรคของอองซานซูจีชนะแบบถล่มทลาย (landslide) อย่างไรก็ตาม กองทัพยังคงพยายามรักษาอำนาจ และกักขังเธอไว้ในบ้าน
 
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2558 มีความพยายามใน[[2011–2015 Myanmar political reforms|การกระตุ้นเปลี่ยนแปลงเป็นระบอบประชาธิปไตย]] จนถึง[[2015 Myanmar general election|การเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2558]] ผลคือ[[สันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย|พรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย]]ของอองซานซูจีได้รับชัยชนะ อย่างไรก็ตาม กองทัพก็ยังคงมีอำนาจสำคัญอยู่ รวมถึงการแต่งตั้งสมาชิก[[รัฐสภาแห่งสหภาพ|สภาผู้แทนราษฎร]] เป็น 1/4 ของสมาชิกทั้งหมด<ref name=":0" /><ref>{{Cite news |title=As Myanmar opens to the world, the mess inside becomes more apparent |work=Bloomberg.com |url=https://www.bloomberg.com/quicktake/myanmars-transition |access-date=1 February 2021 |archive-date=16 October 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20201016104957/https://www.bloomberg.com/quicktake/myanmars-transition |url-status=live}}</ref>
 
รัฐประหารในครั้งนี้ เป็นผลมาจาก[[2020 Myanmar general election|การเลือกตั้งเป็นการทั่วไป]] เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 โดย[[สันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย|พรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย]] ชิงที่นั่งในสภามาทั้งหมด 396 จาก 476 ที่นั่ง โดยเป็นชัยชนะมากกว่าการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2558 โดยพรรคหุ่นเชิดของกกองทัพ คือ [[พรรคสหสามัคคีและการพัฒนา]] ชนะไปเพียงแค่ 33 ที่นั่ง<ref name=":0" />
บรรทัด 71:
 
== เหตุการณ์ ==
เมียว ยุนต์ โฆษกพรรคเอ็นแอลดี กล่าวว่า [[อองซานซูจี]], [[วี่น-มหยิ่น]], [[ฮานตา-มหยิ่น]] และผู้นำพรรคอีกหลายคนถูก "นำตัว" ไปในช่วงเช้า และตัวเขาคงถูกควบคุมตัวในไม่ช้าเช่นกัน<ref name=":1" /> ช่องทางสื่อสารหลายช่องหยุดทำงาน สายโทรศัพท์เข้าสู่[[เนปิดอ]] เมืองหลวง ขัดข้อง [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติเมียนมา|เอ็มอาร์ทีวี]] โทรทัศน์ของรัฐ ระบุว่า ไม่สามารถออกอากาศได้ เนื่องจาก "ปัญหาทาทางเทคนิค"<ref name=":1">{{Cite web|last=Foundation|first=Thomson Reuters|title=Aung San Suu Kyi and other leaders arrested, party spokesman says|url=https://news.trust.org/item/20210131230656-kkg7f|access-date=2021-02-01|website=news.trust.org|archive-date=1 February 2021|archive-url=https://web.archive.org/web/20210201003325/https://news.trust.org/item/20210131230656-kkg7f|url-status=live}}</ref> และมีรายงานอินเทอร์เน็ตล่มเมื่อ 3 นาฬิกา<ref>{{Cite web|date=2021-01-31|title=Internet disrupted in Myanmar amid apparent military uprising|url=https://netblocks.org/reports/internet-disrupted-in-myanmar-amid-apparent-military-uprising-JBZrmlB6|access-date=2021-02-01|website=NetBlocks|language=en-US|archive-date=1 February 2021|archive-url=https://web.archive.org/web/20210201002842/https://netblocks.org/reports/internet-disrupted-in-myanmar-amid-apparent-military-uprising-JBZrmlB6|url-status=live}}</ref> มีผู้พบเห็นทหารในเมือง[[เนปิดอ]] และเมืองหลักอย่าง[[ย่างกุ้ง]]<ref>{{Cite news|date=2021-02-01|title=Myanmar's Aung San Suu Kyi 'detained by military', NLD party says|work=[[BBC News]]|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-55882489|access-date=1 February 2021|archive-date=31 January 2021|archive-url=https://web.archive.org/web/20210131232954/https://www.bbc.com/news/world-asia-55882489|url-status=live}}</ref>
 
ต่อมา กองทัพแถลงการณ์ผ่านทางโทรทัศน์ที่ทหารควบคุมว่า กองทัพจะควบคุมประเทศเป็นเวลาหนึ่งปี<ref>{{Cite web|date=2021-02-01|title=Myanmar military says it is taking control of the country|url=https://apnews.com/article/aung-san-suu-kyi-myanmar-dda3d013897e14d5d0bd44d19eac9cd1|access-date=2021-02-01|website=AP NEWS}}</ref>