ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบินไทย เที่ยวบินที่ 311"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 28:
ท่าอากาศยานตรีภูวันในสมัยนั้นไม่มีเรดาห์ หอบังคับการจึงไม่ทราบตำแหน่งของเครื่องบิน การจะนำเครื่องบินลงจอดที่สนามบินแห่งนี้อาศัยการมองด้วยสายตาและการวิทยุประสานงานตำแหน่งเป็นระยะๆเท่านั้น ในวันที่เกิดอุบัติเหตุนั้น เป็นวันที่สภาพอากาศปิด นักบินสามารถมองเห็นทัศนียภาพได้เพียงไม่กี่ร้อยเมตร การนำเครื่องบินลงจอดจึงต้องอาศัยการประสานงานทางวิทยุเท่านั้น
 
จากการสอบสวนพบว่า เมื่อเครื่องบินกำลังลดระดับจากทิศใต้เพื่อลงจอดยัง[[ท่าอากาศยานนานาชาติตรีภูวัน]] หอบังคับการบินแจ้งว่าสภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยในการเปิดใช้ทางวิ่ง ทำให้เครื่องบินต้องบินเลยไปเพื่อตัดสินใจว่าจะนำเครื่องลงจอดที่[[โกลกัลตาโกลกาตา]]​หรือกลับกรุงเทพ แต่หลังจากนั้นไม่นาน หอบังคับการบินแจ้งว่าสภาพอากาศอยู่ในวิสัยที่จะสามารถนำเครื่องลงได้แล้ว อย่างไรก็ตาม เครื่องบินได้บินผ่านสนามบินไปแล้วและต้องยูเทิร์นกลับไปยังจุดเริ่มต้นใหม่อีกครั้งทางทิศใต้ การสอบสวนพบว่า ในระหว่างที่ทำการยูเทิร์นนี้ กัปตันเป็นผู้ทำหน้าที่วิทยุกับหอการบินเสียเอง ซึ่งปกติเป็นหน้าที่ของนักบินผู้ช่วย ขณะเดียวกันก็มีสัญญาณแจ้งเตือนแสดงผลขึ้นจำนวนมาก และเครื่องบินได้ทำการยูเทิร์น 270 องศา
 
ผู้สอบสวนได้ตั้งข้อสังเกตว่า กัปตันปรีดากำลังรับภาระงานมากเกินไปจนเสียสมาธิ และอาจเผลอปรับเกจ HDG SEL ซึ่งใช้ควบคุมทิศทางหัวเครื่อง เลยกว่าที่ควรจะเป็น แทนที่เครื่องบินจะยูเทิร์น 180 องศาแต่กลับกลายเป็นว่าเครื่องบินทำการยูเทิร์น 270 องศา ขณะที่หอบังคับการก็สั่งให้เครื่องบินคงเพดานบินไว้ ในขณะที่นักบินคิดว่าเครื่องบินกำลังมุ่งหน้าสู่ทิศใต้ แท้จริงแล้วเครื่องบินกลับกำลังมุ่งหน้าสู่[[เทือกเขาหิมาลัย]]ทางทิศเหนือ จนกระทั่งนักบินผู้ช่วยพูนทัตกล่าวขึ้นมาว่า ''"เอ้ เรากำลังขึ้นเหนือใช่ไหมครับ?"'' กัปตันปรีดาตอบว่า ''"เออ เดี๋ยวเราก็เลี้ยวกลับละ"'' จากนั้นจึงประสานขอเลี้ยวกลับไปยังหอบังคับการบิน ''"เอ่อ กาฐมาณฑุ ไทย 311 รีเควสต์ไรต์เทิร์นแบ็กทูดิแอร์ฟิลด์"'' ทว่าในเวลาเดียวกันนั้นเอง สัญญาณเตือนความสูงจากพื้นดินขึ้น นักบินผู้ช่วยกล่าวว่า ''"เลี้ยว เลี้ยวกลับเหอะครับ"'' กัปตันตอบว่า ''"สัญญาณมันผิด! สัญญาณมันผิด!"'' และเสียงสุดท้ายในเทปคือ ''"โอ้ไม่-!"'' เครื่องบินชนเข้ากับเทือกเขาหิมาลัยที่ระยะทาง 35 กม. ทางเหนือจากสนามบินตรีภูวันที่ความสูง 11,500 ฟุต
บรรทัด 36:
จากการสืบสวนสอบสวนสาเหตุของอุบัติเหตุมีดังต่อไปนี้
 
1.กัปตันปรีดา สุทธิมัย เป็นอดีต[[ทหารอากาศ]]มียศขณะนั้นเป็นเรืออากาศโท อายุ41ปี ในขณะที่นักบินผู้ช่วย นาวาอากาศตรี พูนทัต อายุ52ปี[[บุคลิกภาพ]] ของกัปตันและนักบินผู้ช่วยต่างกันมากนักบินผู้ช่วยไม่กล้าตัดสินใจเป็นนักประนีประนอมคล้าย[[พระสงฆ์]] ในขณะที่กัปตันบุคลิกแบบทหารอากาศ ในรายงานระบุว่ากัปตันปรีดา เป็นที่คาดหมายว่าอาจได้เป็นผู้บริหาร บริษัท การบินไทย ในอนาคตในอีก19ปีที่เหลืออายุการทำงาน ในขณะที่ นาวาอากาศตรีพูนทัต ขณะทำการบินเตรียมเกษียณ​อายุในอีก8ปี
 
อายุของนักบินห่างกันมากถึง11ปี9เดือน สังคมไทยเป็นสังคมเคารพอาวุโส เมื่อลูกน้องที่อายุมากกว่ามีปัญหาในการทำงาน คนที่มีความรับผิดชอบตำแหน่งหน้าที่การงานดีกว่ามักให้ความช่วยเหลือในฐานะที่เก่งกว่าและเป็นผู้รับผิดชอบสูงสุด
บรรทัด 42:
2.ผู้ทำหน้าที่หอบังคับการบินท่าอากาศยานตรีภูวันมีประสบการณ์ต่ำทำงานเพียง9เดือน ติดต่อ เครื่องบินหลายลำ ณ ขณะทำงาน โดยลำดับความสำคัญผิด ให้ความสำคัญกับลำอื่นที่จะทำการบินลงหลังTG311มากกว่า TG311 ที่กำลังจะลงจอด ภาษาอังกฤษของเจ้าหน้าที่ฟังยาก การลำดับความสำคัญกับการบินไทยน้อยกว่าสายการบินอื่นๆ อาจเป็นสาเหตุให้กัปตัน ตัดสินใจติดต่อเอง ซึ่งในอีก59วันก็มีเครื่องบินตกที่ท่าอากาศยานตรีภูวันเป็นสายการบินปากีสถานเที่ยวบิน PK268 ในลักษณะ​เดียวกับการบินไทย
 
3.เครื่องบินมีปัญหาที่ปีกทำให้มีปัญหาต้องแก้ไขเพิ่มโดยนักบินพยายามทดลองกางแฟลบหลายครั้งในระหว่างบินไป[[โกลกาตา]]และระหว่างตัดสินใจกลับมาที่กาฎมัณฑุ[[กาฐมาณฑุ]]​เพื่อให้แน่ใจว่าใช้งานได้ในขณะที่ลงจอดกัปตันตำหนินักบินผู้ช่วยเนื่องจากการทำงานที่พลาดหรือไม่สามารถตอบคำถามได้
 
4.ในตอนแรกกัปตันตัดสินใจนำเครื่องไปที่[[โกลกาตา]]แต่ต่อมา ทางหอบังคับการบินได้สั่งให้นำเครื่องมาลงที่เนปาล[[กาฐมาณฑุ]]​ การสื่อสารบนเครื่องบินของระหว่างกัปตันกับนักบินผู้ช่วย นักบินผู้ช่วยและกัปตันกับเจ้าหน้าที่หอบังคับการบินนั้นเป็นไปอย่างแบบตึงเครียดและหงุดหงิด หงุดหงิดเป็นอย่างมาก
 
ในขณะที่การสื่อสารของนักบินผู้ช่วยและกัปตันกับเจ้าหน้าที่หอบังคับการบินนั้นเป็นไปอย่างตึงเครียดและน่าหงุดหงิดเป็นอย่างมาก
5.รายงานสืบสวนวิพากษ์วิจารณ์​การคัดเลือกกัปตันของ บริษัท การบินไทย เนื่องจากการบินไทยจ้าง[[ศาสตราจารย์]]​จากต่างชาติโดยหน้าที่ของศาตราจารย์จะทำการทดสอบว่าใครจะได้เป็นกัปตันและใครไม่มีคุณสมบัติในการเป็นกัปตัน สิทธิขาดเช่นนี้ทำให้นักบินผู้ช่วยที่ถูกตัดสินว่าจะต้องเป็นนักบินผู้ช่วยตลอดไป ไม่กล้าตัดสินใจไม่มีความทะเยอทะยานอีกทั้งต้องกลัวบุคคลที่ได้รับการคัดเลือกแม้อายุจะน้อยกว่ามาก
 
5.รายงานสืบสวนวิพากษ์วิจารณ์​การคัดเลือกกัปตันของ บริษัท การบินไทย เนื่องจากการบินไทยจ้าง[[ศาสตราจารย์]]​จากต่างชาติโดยหน้าที่ของศาตราจารย์จะทำการทดสอบว่าใครจะได้เป็นกัปตันและใครไม่มีคุณสมบัติในการเป็นกัปตัน สิทธิขาดเช่นนี้ทำให้นักบินผู้ช่วยที่ถูกตัดสินว่าจะต้องเป็นนักบินผู้ช่วยตลอดไป ไม่กล้าตัดสินใจไม่มีความทะเยอทะยานอีกทั้งต้องกลัวไม่กล้าแนะนำบุคคลที่ได้รับการคัดเลือกแม้อายุกัปตันจะอายุน้อยกว่ามากนักบินผู้ช่วย11ปีก็ตาม