ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาธารน้ำแข็ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''วิทยาธารน้ำแข็ง''' ({{lang-en|Glaciology}}) เป็นศาสตร์เกี่ยวกับ[[ธารน้ำแข็ง]] [[น้ำแข็ง]] และปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวกับน้ำแข็ง
 
วิทยาธารน้ำแข็ง เป็นสหวิทยาการของ[[วิทยาศาสตร์โลก]]ที่รวมเอา [[ธรณีฟิสิกส์]], [[ธรณีวิทยา]], [[ภูมิศาสตร์|ภูมิศาสตร์กายภาพ]], [[ธรณีสัณฐานวิทยา]], [[climatologyภูมิอากาศวิทยา]], [[อุตุนิยมวิทยา]], [[อุทกวิทยา]], [[ชีววิทยา]], และ [[นิเวศวิทยา]] ผลกระทบของธารน้ำแข็งต่อชีวิตผู้คน รวมไปถึงสาขาวิชาของ [[ภูมิศาสตร์|ภูมิศาสตร์มนุษย์]] และ[[มานุษยวิทยา]] นอกนี้ยังมีวิชาเพิ่มขึ้นมาใหม่อย่างวิชา astroglaciology หลังมีการค้นพบน้ำแข็งนอกโลกเช่น น้ำแข็งบน[[ดวงจันทร์]] [[ดาวอังคาร]] [[ยูโรปา (ดาวบริวาร)|ยูโรปา]]และ[[ดาวพลูโต]]<ref>{{cite web |title=Annals of Glaciology, v.9 |page=255 |author=Richard S. Williams, Jr. |url=http://www.igsoc.org/annals/9/igs_annals_vol09_year1987_pg254-255.pdf |format=[[PDF]] |year=1987 |publisher=[[International Glaciological Society]] |access-date=7 February 2011}}</ref>
ผลกระทบของธารน้ำแข็งต่อชีวิตผู้คน รวมไปถึงสาขาวิชาของ [[ภูมิศาสตร์|ภูมิศาสตร์มนุษย์]] และ[[มานุษยวิทยา]]
 
== ภาพรวม ==
เนื้อหาของวิทยาธารน้ำแข็งจะครอบคลุมประวัติของธารน้ำแข็งและการจำลองการเกิดของธารน้ำในอดีต
ธารน้ำแข็งเป็นผืนน้ำแข็งที่บริเวณกว้างที่ก่อตัวมาจากหิมะที่ตกลงมาและสะสมกันเป็นระยะเวลาหลายๆปี การเคลื่อนที่ของธารน้ำแข็งจะช้ามากๆซึ่งอาจจะเป็นการเคลื่อนตัวลงจากภูเขาสูง เช่นในธารน้ำแข็งหุบเขา หรืออาจจะเป็นการเคลื่อนตัวออกจากจุดศูนย์กลางของการสะสมเช่นใน[[ธารน้ำแข็งภาคพื้นทวีป]]
 
วิทยาธารน้ำแข็งมักศึกษาประวัติและวิวัฒนาการของธารน้ำแข็งในอดีต นักวิทยาธารน้ำแข็งเป็นชื่อของผู้ที่ทำการศึกษาศาสตร์นี้ นักวิทยาธารน้ำแข็งจะศึกษาการสะสมตัวและ[[การกร่อน]]ภูมิประเทศของธารน้ำแข็ง ศาสตร์นี้เป้นหัวข้อสำคัญของการวิจัยบริเวณขั่วโลก
 
== ชนิด ==
[[ไฟล์:YosemiteFromPlane.JPG|thumb|Glacially-carved [[Yosemite Valley]], as seen from a plane]]
 
ธารน้ำแข็งสามารถแบ่งได้โดยรูปทรงเรขาคณิตและความสัมพันธ์กับภูมิประเทศโดยรอบ นักธารน้ำแข็งแบ่งธารน้ำแข็งออกเป็นสองชนิด: คือ ''ธารน้ำแข็งแอล์ไพน์'' ซึ่งมีลักษณะเป็นคล้ายแม่น้ำของน้ำแข็งที่เกิดจากการสะสมจะอยู่ในหุบเขา; และ ''ธารน้ำแข็งพื้นภาคพื้นทวีป'' ที่การสะสมไม่ได้จำกัดเฉพาะในหุบเขาซึ่งครั้งหนึ่งเคยครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของทวีปในซีกโลกเหนือ
 
*ธารน้ำแข็งแอล์ไพน์ – น้ำแข็งไหลลงมาตามหุบเขาและเคลื่อนตัวไปสู่ที่ราบด้านล่าง ธารน้ำแข็งแอล์ไพน์มีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดภูมิประเทศที่มีความขรุขระมากและสามารถเปลี่ยนรูปลักษณะของภูมิประเทศได้ เช่น เกิดแอ่งเขาขนาดใหญ่คล้ายชาม
*ธารน้ำแข็งภาคพื้นทวีป – [[พืดน้ำแข็ง]]ที่พบทุกวันนี้อยู่ในละติจูดสูงทั้งสิ้น ([[กรีนแลนด์]]/[[แอนตาร์กติกา]]) ครอบคลุมพื้นที่หลายพันตารางกิโลเมตรและหนาเป็นพันเมตร ธารน้ำแข็งประเภทนี้ทำให้ภูมิประเทศมีลักษณะราบเรียบ
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* Benn, Douglas I. and David J. A. Evans. ''Glaciers and Glaciation''. [[London]]; Arnold, 1998. ISBN 0-340-58431-9
* Greve, Ralf and Heinz Blatter. ''Dynamics of Ice Sheets and Glaciers''. [[Berlin]] etc.; [[Springer Science+Business Media|Springer]], 2009. ISBN 978-3-642-03414-5