ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตมหานคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
เขตมหานครจะรวมถึง[[เมืองบริวาร]] และพื้นที่ชนบทที่แทรกระหว่างกลาง ซึ่งมีสังคมและเศรษฐกิจเชื่อมโยงหรือขึ้นอยู่กับศูนย์กลางของเมือง โดยทั่วไปจะวัดจากรูปแบบ[[การไปกลับเป็นประจำ|การเดินทางไปกลับเป็นประจำ]] (commuting)<ref>{{cite web|title=Definition of Urban Terms|url=http://demographia.com/db-define.pdf|work=demographia.com|access-date=22 October 2013}}</ref> เขตมหานครส่วนใหญ่มักยึดกับนครศูนย์กลางแห่งเดียว เช่น [[เขตมหานครปารีส]] ([[ปารีส]]), [[เขตมหานครมุมไบ]], [[เขตมหานครนิวยอร์ก]] ([[นครนิวยอร์ก]]) และ[[กรุงเทพมหานครและปริมณฑล]] ในบางกรณี เขตมหานครอาจมีศูนย์กลางหลายแห่งที่มีความสำคัญใกล้เคียงกันก็ได้ เช่น [[Dallas–Fort Worth metroplex|เขตมหานครแดลลัส–ฟอร์ตเวิร์ท]] ([[แดลลัส]]และ[[ฟอร์ตเวิร์ท]]), [[Islamabad–Rawalpindi metropolitan area|เขตมหานครอิสลามาบาด–ราวัลปินดี]] ([[อิสลามาบาด]]และ[[ราวัลปินดี]]), [[Rhine-Ruhr|เขตมหานครแม่น้ำไรน์-รัวร์]]ในเยอรมนี และ[[Randstad|รันด์สตัด]]ในเนเธอร์แลนด์
 
ใน[[สหรัฐอเมริกา]] แนวคิดเกี่ยวกับ[[Metropolitan statistical area|พื้นที่ทางสถิติของเมือง]] (metropolitan statistical area) ได้รับมีความโดดเด่นชัดขึ้นใน[[สหรัฐอเมริกา]] เขตมหานครเองอาจเป็นส่วนหนึ่งของ[[megalopolis|อภิมหานคร]] (megalopolis) ที่มีขนาดใหญ่กว่า สำหรับศูนย์กลางเขตเมืองนอกเขตมหานครที่สร้างแรงดึงดูดที่คล้ายกันในระดับที่เล็กลงในแต่ละภูมิภาคของตนนั้น ได้มีการริเริ่มแนวคิดเรื่องรีจิโอโพลิส (regiopolis) และเขตรีจิโอโพลิตัน (regiopolitan area) หรือรีจิโอ (regio) โดยศาสตราจารย์ชาวเยอรมันในปี 2006<ref>Prof. Dr. Iris Reuther (FG Stadt- und Regionalplanung, Universität Kassel): Presentation "Regiopole Rostock". 11 December 2008, retrieved 13 June 2009 (pdf).</ref> ในสหรัฐอเมริกา มีการใช้คำว่า พื้นที่ทางสถิติของเมืองขนาดเล็ก (micropolitan statistical area)
 
== ดูเพิ่ม ==