ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกียวกูองโฮโซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 26:
 
== ใจความสำคัญ ==
{{Listen|type=sound|filename=Imperial Rescript on the Termination of the War.ogg|title=เกียวกุอง โฮโซ - การออกอากาศพระราชดำรัสว่าด้วยพระบรมราชวินิจฉัยในการสิ้นสุดสงครามของจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ ณ วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 เวลา 12.00 ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น}}
 
เนื้อหาหลักของกระแสพระราชดำรัสคือการประกาศการยอมจำนนของญี่ปุ่นโดยจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ อย่างไรก็ตาม คำศัพท์ที่ปรากฏในพระราชดำรัสดังกล่าวเป็นศัพท์สูง ฟังเข้าใจได้ยากยิ่ง คนญี่ปุ่นจำนวนไม่น้อยในสมัยนั้นก็ยังไม่แน่ใจในความหมายที่แท้จริงในทันที และจากเนื้อความทั้งหมดที่สมเด็จพระจักรพรรดิทรงประกาศ แม้ว่าเนื้อหาหลักคือการยอมจำนนของญี่ปุ่น แต่ก็ไม่มีส่วนใดเลยที่ระบุคำว่า “ยอมแพ้” <ref>โฆษิต ทิพย์เทียมพงษ์. (2550). '''นางาซากิ: ยลเสน่ห์ล้ำ ย้ำอดีตลึก'''. แพรวสำนักพิมพ์. หน้า 120.</ref>
 
เส้น 45 ⟶ 43:
"เราได้มีบัญชาให้รัฐบาลจักรวรรดิแจ้งไปยังสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร จีน สหภาพโซเวียต สี่ประเทศ ว่าเรายอมรับปฏิญญาที่พวกเขาได้ร่วมกันประกาศไว้"
|}
 
{{Listen|type=sound|filename=Imperial Rescript on the Termination of the War.ogg|title=เกียวกุอง โฮโซ - การออกอากาศพระราชดำรัสว่าด้วยพระบรมราชวินิจฉัยในการสิ้นสุดสงครามของจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ ณ วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 เวลา 12.00 ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น}}
 
ปฏิญญาที่พระองค์มีรับสั่งถึง คือ [[ปฏิญญาพ็อทซ์ดัม]] ซึ่งสี่ชาติใหญ่ร่วมกันเรียกร้องให้ญี่ปุ่นยอมแพ้โดยไม่มีเงื่อนไข ในตอนนั้น ประชาชนคนไหนไม่รู้จักคำประกาศนี้ ก็อาจไม่เข้าใจชัดเจนในทันทีว่านั่นหมายถึงการยอมแพ้ของญี่ปุ่น <ref>โฆษิต ทิพย์เทียมพงษ์. (2550). '''นางาซากิ: ยลเสน่ห์ล้ำ ย้ำอดีตลึก'''. แพรวสำนักพิมพ์. หน้า 120 - 121.</ref>