ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิบัติการสะพานลอนดอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Yokoronichi (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
YURi (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8232111 โดย YURi: ฝรั่งไม่มีโกศด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
'''ปฏิบัติการสะพานลอนดอน''' ({{lang-en|Operation London Bridge}}) เป็นรหัสลับเรียกแผนดำเนินการต่าง ๆ เมื่อ[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] สวรรคตลง<ref name="theguardian.com">{{cite newspaper|url=https://www.theguardian.com/uk-news/2017/mar/16/what-happens-when-queen-elizabeth-dies-london-bridge|work=[[The Guardian]]|title=Operation London Bridge: the secret plan for the days after the Queen’s death|date=16 March 2017|accessdate=17 March 2017|first=Sam|last=Knight}}</ref><ref name="independent.co.uk">{{cite newspaper|url=http://www.independent.co.uk/news/uk/home-news/operation-london-bridge-queen-dead-elizabeth-ii-secret-plan-buckingham-palace-a7632891.html|first=Maya|last=Oppenheim|title=This is the secret code word when the Queen dies|work=The Independent|date=16 March 2017|publisher=}}</ref><ref>{{cite news|url=http://www.huffingtonpost.co.uk/entry/operation-london-bridge-what-happens-when-the-queen-dies_uk_58ca6f33e4b0ec9d29d8ed39|title=5 Things We've Learned About 'London Bridge' – The Queen's Death Protocol|date=16 March 2017|first=George|last=Bowden}}</ref><ref>{{cite newspaper|url=http://metro.co.uk/2017/03/16/theres-a-secret-code-word-for-when-the-queen-dies-6512708/|title=There's a secret code word for when the Queen dies|first=Toby|last=Meyjes|work=[[Metro (British newspaper)|Metro]]|date=16 March 2017}}</ref> เดิมทีแผนนี้วางขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และปรับปรุงเรื่อยมาทุกปี ในการวางแผนมีความร่วมมือจากกระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ เป็นต้นว่า [[หน่วยตำรวจนครบาล]] [[กองทัพสหราชอาณาจักร|กองทัพบริติช]] [[ราชอุทยานลอนดอน]] ตลอดจน [[คริสตจักรอังกฤษ]] และสื่อมวลชน นอกจากนี้ การตัดสินใจสำคัญบางประการยังเป็นพระวินิจฉัยของสมเด็จพระราชินีนาถโดยตรง แต่บางเรื่องที่ต้องอาศัยการวินิจฉัยของผู้สืบบัลลังก์ต่อก็มี
 
แผนนี้กำหนดให้ใช้ข้อความว่า "สะพานลอนดอนพังแล้ว" (London Bridge is down) เป็นรหัสสำหรับบอกคนวงใน เช่น [[นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร|นายกรัฐมนตรี]] และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ให้ทราบว่า สมเด็จพระราชินีนาถสวรรคตแล้ว จะได้เริ่มปฏิบัติตามแผน
บรรทัด 5:
==ความเป็นมา==
 
ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 [[รัฐพิธีศพในสหราชอาณาจักร|งานพระศพในสหราชอาณาจักร]]นั้นดำเนินการไม่เรียบร้อยมาตลอด เป็นต้นว่า ในงานพระศพ[[เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเวลส์]]เมื่อ ค.ศ. 1817 เจ้าพนักงานภูษามาลาสัปเหร่อล้วนเมาสุรา ขณะที่งานพระบรมศพ[[พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าจอร์จที่ 4]] เมื่อ ค.ศ. 1830 นั้น นิตยสาร ''[[ไทมส์]]'' บันทึกว่า "บริหารจัดการแย่" (ill-managed) พฤติการณ์เหล่านี้มาเปลี่ยนแปลงเอาเมื่อ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]]ทรงเตรียมงานพระบรมศพของพระองค์มาตั้งแต่ ค.ศ. 1875 จนสวรรคตลงใน 26 ปีให้หลัง<ref name="theguardian.com"/>
 
การใช้รหัสลับสำหรับบอกข่าวการสวรรคตนั้น เริ่มเมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าจอร์จที่ 6]] สวรรคตใน ค.ศ. 1952 มีการแจ้งข้อความว่า "มุม[[Hyde Park, London|สวนไฮด์]]" (Hyde Park Corner) ต่อข้าราชการผู้ใหญ่ เพื่อเป็นนัยว่า พระเจ้าแผ่นดินสิ้นแล้ว ทั้งนี้ เพื่อมิให้ผู้ควบคุมแผงไฟใน[[พระราชวังบักกิงแฮม]]รู้ข่าวเร็วเกินไป<ref name="theguardian.com"/><ref name="independent.co.uk"/>
 
ส่วน[[สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี]] นั้น มีการใช้แผนเรียก "ปฏิบัติการสะพานเทย์" (Operation Tay Bridge) สำหรับเตรียมงานพระบรมศพล่วงหน้าถึง 22 ปี และแผนนี้ก็ใช้เป็นแบบแผน[[พระราชพิธีพระศพของไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์|งานพระศพเจ้าหญิงไดอานา]]ใน ค.ศ. 1997<ref name="theguardian.com"/>
 
==แผน==
บรรทัด 24:
===วันถัดจากวันสวรรคต===
 
หลังสวรรคตแล้วหนึ่งวัน [[Accession Council|สภาสืบราชย์]] (Accession Council) จะประชุมเพื่อประกาศการกราบบังคมทูลเชิญยก[[เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์|เจ้าชายชาลส์]]ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์<ref name="theguardian.com"/> เย็นนั้น จะมีการประชุมรัฐสภาเพื่อถวายสัตย์ต่อพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่
 
===งานพระบรมศพ===
 
มีการเตรียมเคลื่อนหีบพระโกศพระบรมศพไว้หลายทาง สุดแต่ว่าจะสวรรคตที่ใด เช่น
* ถ้าสวรรคต ณ [[ปราสาทวินด์เซอร์]] หรือ[[ตำหนักซานดริงแฮม]] จะเคลื่อนหีบพระโกศพระบรมศพด้วยรถยนต์ไปยังพระราชวังบักกิงแฮมภายใน 1-2 วัน
* ถ้าสวรรคตต่างประเทศ จะให้[[No. 32 Squadron RAF|กองบินที่ 32]] จะเคลื่อนลำเลียงหีบพระโกศพระบรมศพไปยังฐานทัพอากาศสถานี[[RAF Northolt|นอร์ตโฮลต์]] แล้วเคลื่อนต่อด้วยรถยนต์ไปยังพระราชวังบักกิงแฮม
* ถ้าสวรรคต ณ [[พระราชวังโฮลีรูด]]ในสกอตแลนด์ จะประดิษฐานไว้หีบพระโกศพระบรมศพ ณ [[St Giles' Cathedral|อาสนวิหารนักบุญไจลส์]] (St Giles' Cathedral) แล้วจึงขนย้ายต่อด้วย[[British Royal Train|รถไฟหลวง]]ไปยังลอนดอน
 
แต่ไม่ว่ากรณีจะเป็นเช่นไร หีบพระโกศพระบรมศพจะประดิษฐานตั้งไว้ในท้องพระโรงพระราชวังบักกิงแฮมเป็นเวลา 4 วัน แล้วจะย้ายไปประดิษฐานตั้งสักการะ ณ โถงเวสมินสเตอร์ [[พระราชวังเวสต์มินสเตอร์]] อีก 4 วัน
 
ส่วนงานพระบรมศพจะจัดขึ้น ณ [[เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์]]เมื่อสวรรคตแล้ว 9 วัน หลังจากนั้น จะฝังพระบรมศพไว้ ณ [[St George's Chapel, Windsor Castle|โบสถ์น้อยนักบุญจอร์จ]] (St George's Chapel) ในปราสาทวินด์เซอร์<ref name="theguardian.com"/>
 
==ชื่อ==