ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระองค์เม็ญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
ต่อมาราชสำนักเว้ก็ส่งพระองค์กลับ[[พนมเปญ]]หวังให้ชาวเขมรคลายความเจ็บแค้น เมื่อพระเจ้ากรุงญวนทรงเห็นว่าไม่มีขุนนางเขมรนิยมชมชอบพระองค์เม็ญ จึงส่งพระองค์เม็ญไปเมือง[[เจิวด๊ก|เมียดจรูก]]<ref name="พงศาวดาร242">''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 242</ref> ภายหลังทัพญวนมิอาจต้านทานกองทัพประสมสยามกับเขมร จึงขอหย่าศึก ยอมปล่อยพระราชวงศ์เขมรที่ถูกนำไปควบคุมไว้ที่[[เว้]]ให้เป็นอิสระตั้งแต่ พ.ศ. 2388 เป็นต้นมา<ref name="ถกสยาม2">''เขมร "ถกสยาม"'', หน้า 100</ref>
 
== พระชนม์ชีพช่วงต้นราชประวัติ ==
=== พระชนม์ชีพช่วงต้น ===
พระองค์เม็ญประสูติเมื่อวันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือนยี่ ปีกุน สัปตศก 1177 (พ.ศ. 2358) เป็นพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี]] หรือนักองค์จัน ประสูติแต่นักนางกระจับ [[บาทบริจาริกา]]ชั้นพระแม่นาง พระราชชนกโปรดให้จัดพระราชพิธีเกศากันต์ แล้วถวายพระนามให้ว่า'''พระองค์เจ้ามี'''<ref name="พงศาวดาร212"/> (เอกสารไทยเรียก '''เม็ญ''') มีพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีแต่ไม่ปรากฏพระนามพระองค์หนึ่ง ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2363 แต่สิ้นพระชนม์ด้วยโรค[[ฝีดาษ]]เมื่อชันษาเพียง 7 ปี<ref name="พงศาวดาร221">''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 221</ref> และมีพระภคินีร่วมพระชนกได้แก่ นักองค์แบน บ้างออกนามว่า แป้น<ref name="พงศาวดาร214">''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3'', หน้า 214-215</ref> หรือแม้น<ref name="พงศาวดาร239"/> (ประสูติแต่นักเทพ น้องสาวพระองค์แก้ว)<ref name="พงศาวดาร166">''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3'', หน้า 166</ref> นักองค์เภา (ประสูติแต่นักนางยศ)<ref name="พงศาวดาร221"/> และนักองค์สงวน (ประสูติแต่นักนางแป้น น้องสาวนักนางกระจับ)<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 222</ref>
 
เส้น 40 ⟶ 41:
เบื้องต้นฝ่ายพระเจ้ากรุงญวนที่คิดจะเอาดินแดนเขมรมาไว้ในปกครอง จะตั้งให้เจ้านายผู้หญิง พระราชธิดาในสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดีทั้งสามพระองค์ ครองราชย์ร่วมกัน<ref name="พงศาวดาร166"/> ทว่าในเวลาต่อมาราชสำนักเว้และขุนนางเขมร หมายจะให้นักองค์แบน พระราชธิดาในสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี ขึ้นเสวยราชย์สืบบิดา แต่เพราะเจ้าหญิงพระองค์นี้นิยมสยาม และปฏิเสธที่จะเสกสมรสกับพระราชโอรสของพระเจ้ากรุงญวนเสียด้วย จึงมิได้ถูกเลือก<ref>Fieldnote, 2006</ref> ในขณะที่นักองค์เม็ญได้รับการโน้มน้าวจากขุนนางญวนให้เสกสมรสกับพระราชโอรสของ[[จักรพรรดิซา ล็อง]] (เอกสารไทยเรียก ยาลอง หรือองเชียงสือ) แต่แผนการนี้ถูกขุนนางเขมรคัดค้านอย่างหนัก โดยให้เหตุผลว่ามีวัฒนธรรมต่างกัน และไม่เหมาะควรที่จะให้เจ้านายผู้หญิงปกครองประเทศยาวนาน<ref name="พงศาวดาร166"/><ref>Gender in election, p. 7</ref>
 
=== หุ่นเชิด ===
พฤษภาคม พ.ศ. 2378 [[ราชวงศ์เหงียน|ราชสำนักเว้]]สถาปนานักองค์เม็ญ หรือหง็อก เวิน ({{lang|vi|Ngọc Vân}}, {{lang|vi|玉雲}}) เป็น "เจ้าหญิงเมืองขึ้น" ({{lang|vi|Quận chúa}}, {{lang|vi|郡主}}) และมีฐานันดรศักดิ์ต่ำกว่าเจ้าหญิงพระราชธิดากรุงญวน ({{lang|vi|Công chúa}}, {{lang|vi|公主}}) ส่วนพระภคินีพระองค์อื่น คือ นักองค์แบน หรือหง็อก เบี่ยน ({{lang|vi|Ngọc Biện}}, {{lang|vi|玉卞}}) นักองค์เภา หรือหง็อก ทู ({{lang|vi|Ngọc Thu}}, {{lang|vi|玉秋}}) และนักองค์สงวน หรือหง็อก เงวียน ({{lang|vi|Ngọc Nguyên}}, {{lang|vi|玉源}}) มีบรรดาศักดิ์เป็น "ท่านหญิงหัวเมืองน้อย" ({{lang|vi|Huyen quan}}, {{lang|vi|縣君}})<ref>A Comparation analysis of traditional and contemporary of female house hold p 48 by Andrey Riffaund</ref> ฝ่ายญวนทำการอารักขาพระองค์เม็ญอย่างใกล้ชิด มีทหารรักษาพระองค์สองกองร้อย รวม 100 นาย ส่วนพระภคินีอีกสามพระองค์ มีทหารอารักขาพระองค์ละ 30 นาย ทั้งนี้ก็เพื่อป้องกันมิให้เจ้านายเขมรคิดหลบหนีไปพึ่งสยาม<ref>''Lost goddesses: the denial of female power in Cambodian history'' by Trudy Jacobsen, p. 112</ref>
 
เส้น 52 ⟶ 53:
 
ต่อมาแรม 3 ค่ำ เดือน 6 (ตรงกับวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2390) ขุนนางญวนแต่งตั้งนักองค์ด้วงขึ้นเป็น เตามันกวักเอือง หรือเตาบางกวิกเกวิง แปลว่า "เจ้าเขมรอยู่คนหนึ่ง" รับตราตั้งและฉลองพระองค์แบบญวน หลังจากนั้นขึ้น 6 ค่ำ เดือน 7 (ตรงกับวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2390) องต๋าเตืองกุน ขุนนางญวนก็นำนักองค์เม็ญ นักองค์เภา และนักองค์สงวนแก่นักองค์ด้วง ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 7 (ตรงกับวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2390) แม่ทัพนายกองญวนในพนมเปญก็เลิกทัพไปหมด<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3'', หน้า 305-306</ref> ส่วนหนึ่งก็เพราะญวนเผชิญกับการกบฏบริเวณตังเกี๋ย ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 258</ref> ครั้นขึ้น 14 ค่ำ เดือน 2 (ตรงกับวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2391) [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พระยาเพ็ชรพิไชย (เสือ) กับเจ้าพนักงานทุกตำแหน่ง คุมเครื่องประกอบพระอิสริยยศ สุพรรณบัตรจารึกพระนามออกไปเมืองเขมร อภิเษกนักองค์ด้วงพร้อมด้วยเจ้าพระยาบดินทรเดชาเมื่อขึ้น 4 ค่ำ เดือน 4 (ตรงกับวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2391) เป็นเจ้าแผ่นดินกัมพูชา พระนามว่า [[สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี|องค์พระหริรักษ์เจ้ากรุงกัมพูชา]]<ref >''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3'', หน้า 307</ref>
 
==บั้นปลาย= ปลายพระชนม์ชีพและสวรรคต ===
ตลอดรัชสมัยของพระองค์เม็ญ พระองค์ต้องอยู่กับมลทินมัวหมองมาตลอดสองทศวรรษ หลัง[[สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี]]สวรรคต [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร]]ก็เสวยราชสมบัติต่อ และย้ายราชธานีไปยังกรุงพนมเปญ ทิ้งให้พระองค์เม็ญประทับอยู่ในพระราชวังอุดงฦๅไชยกับข้าราชบริพารเก่าแก่ บางแหล่งข้อมูลระบุว่าพระองค์เม็ญคุ้มดีคุ้มร้ายเมื่อไม่ได้สิทธิในสินค้าอย่างที่ราชินีควรจะได้ เหล่าข้าราชบริพารจึงเข้ามายุ่งย่ามปิดปากเหล่าพ่อค้าแม่ค้าเสีย<ref>River Road to China: The Search for the Source of the Mekong, 1866-73 By Milton Osborne p.26</ref>
 
ในระหว่างที่ทรงถูกนำพระองค์กลับมายังอุดงหลังจากการรุกรานของศัตรูในปีเม็ญมีพระราชบุตรสองพระองค์ พ.ศ. 2390 หลังจากนั้นทรงอภิเษกสมรสที่ประสูติกับบุรุษผู้หนึ่งซึ่งไม่ปรากฏทราบนามและมีพระราชธิดาสองพระองค์<ref>[http://www.guide2womenleaders.com/womeninpower/Womeninpower1800.htm WOMEN IN POWER 1800-1840]</ref>(วรรคนี้มิอาจสรุปได้ว่าพระนางมีพระบุตร) พระนางพระองค์เม็ญและพระสวามีประสบอุบัติเหตุสวรรคตใน เสวยทิวงคตหลังเดือนธันวาคม พ.ศ. 2417 แต่พระบรมศพได้รับการพระราชทานเพลิงพระบรมศพที่กรุงพนมเปญในปี พ.ศ. 2427
 
==พระชนม์ชีพท่ามกลางเรื่องอื้อฉาว==
เส้น 57 ⟶ 63:
 
มีการเล่าลือกันว่ากษัตรีองค์มีทรงมีเรื่องอื้อฉาวกับตรุง มิง เกียง ผู้ว่าราชการชาวเวียดนามใน[[พนมเปญ]] ฌ็อง โมราให้คำปรึกษาแก่ข้าราชบริพารและสตรีในราชสำนักในรัชสมัยของกษัตรีองค์มีและผู้สังเกตการณ์อิสระได้ประกาศว่าข่าวลือนั้นไม่เป็นความจริง<ref>Khmer woman on the move, p.113</ref> พฤติกรรมอื่น ๆ เกี่ยวกับการกล่าวหากษัตรีองค์มีเกี่ยวกับการกระทำผิดก็คือ ''"พระองค์หญิงผู้มีพระสิริโฉมงดงามผู้ซึ่งขายชาติบ้านเมืองแต่มิได้ขายตัวพระองค์เองแก่เวียดนาม"''<ref>River Road to China: The Search for the Source of the Mekong, 1866-73 By Milton Osborne p.25</ref> ตราบจนบัดนี้ประวัติศาสตร์ได้สร้างให้พระมหาราชินีองค์มีทรงเป็นผู้เคราะห์ร้ายซึ่งไม่มีปฏิกิริยาที่ไม่ค่อยจะถูกตามหลักทำนองคลองธรรมในสายตาของพสกนิกรของพระนางเอง<ref>Phnom Penh Post, 20 December 2002- 2 January 2003, p 14</ref> กษัตรีองค์มีทรงถูกตำหนิติเตียนในทางลบตลอดรัชกาลของพระนาง ในรัชสมัยที่ซึ่งแผ่นดินเขมร, วัฒนธรรมและความเป็นเอกราชแทบจะสูญสิ้น ในขณะที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าชาวเวียดนามได้เข้ามามีอิทธิพลควบคุมกัมพูชาในรัชสมัยของพระราชินีองค์มี พระนางทรงรับช่วงต่อประเทศที่ซึ่งผูกพันธะกับทางเว้โดยพระราชบิดาของพระนางคือ นักองค์จัน กษัตรีองค์มีทรงครองราชสมบัติเป็นพระประมุขแห่งราชอาณาจักรที่ซึ่งเวียดนามกำลังเตรียมพร้อมจัดการกับกัมพูชา มันเป็นการยากที่จะทำให้แน่ใจในทางปฏิบัติมากกว่าการยอมรับพระนาง<ref>Lost goddesses: the denial of female power in Cambodian history By Trudy Jacobsen p.116</ref> อย่างไรก็ตามกษัตรีองค์มีดูราวกับทรงทอดสายพระเนตรเห็นสถานะสงบสุขในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในประเทศของพระนาง จากการบอกเล่าของคณะทูตซึ่งถูกส่งโดยสมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี ที่ซึ่งพระนางทรงปรารถนาให้กลับมาสู่ความสงบสุขและความเป็นไมตรีและทรงหวังว่าพระนางและพระขนิษฐาจะได้ดำรงพระชนม์ชีพร่วมกับพระปิตุลาอย่างสงบสุข ในทางการทูตเวียดนามเห็นว่าพระนางทรงเป็นสตรีที่มีสติปัญญาสูงยิ่งในการครองราชย์ของพระนาง<ref>Lost goddesses: the denial of female power in Cambodian history By Trudy Jacobsen, p.117</ref> ไม่มีการสู้รบกันทันทีต่อเวียดนาม ผู้ซึ่งทำการสังหารพระเชษฐภคินีของพระนางและการดำเนินการเปลี่ยนสถานะของพระนางจากการที่มีพระอาการทางประสาทและพฤติกรรมที่ดื้อรั้นของพระนาง กษัตรีองค์มีทรงได้รับการรายงานว่ามีพระสติวิปลาส<ref>[http://www.andybrouwer.co.uk/blog/2008/09/jacobsen-rewrites-history.html Jacobsen rewrites history]</ref>
 
==บั้นปลายพระชนม์ชีพและสวรรคต==
ในตลอดพระชนม์ชีพของกษัตรีองค์มีด้วยความทรงจำเกี่ยวกับความตายและการเสื่อมเสียชื่อเสียงเป็นเวลากว่า 20 ปี [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร]] ทรงปล่อยให้พระนางอยู่ในความดูแลของข้าราชบริพารเก่าแก่เมื่อพระองค์และราชสำนักได้ย้ายไปที่[[พนมเปญ]] ที่เมือง[[อาณาจักรเขมรอุดง|อุดง]] กษัตรีองค์มีทรงเชื่อว่าพระนางยังคงมีเกียรติยศอยู่บ้างและข้าราชบริพารของพระนางสามารถบรรเทาความโกรธแค้นของชาวบ้านให้สงบลงได้ซึ่งพระนางมักจะทำร้ายทุบตีเมื่อพระสติของพระนางผิดปกติหรือจ่ายสำหรับสินค้าที่ซึ่งพระนางทรงถือสิทธิครอบครองสินค้าจากแม่ค้าในตลาด<ref>River Road to China: The Search for the Source of the Mekong, 1866-73 By Milton Osborne p.26</ref>
 
ในระหว่างที่ทรงถูกนำพระองค์กลับมายังอุดงหลังจากการรุกรานของศัตรูในปี พ.ศ. 2390 หลังจากนั้นทรงอภิเษกสมรสกับบุรุษผู้หนึ่งซึ่งไม่ปรากฏนามและมีพระราชธิดาสองพระองค์<ref>[http://www.guide2womenleaders.com/womeninpower/Womeninpower1800.htm WOMEN IN POWER 1800-1840]</ref>(วรรคนี้มิอาจสรุปได้ว่าพระนางมีพระบุตร) พระนางและพระสวามีประสบอุบัติเหตุสวรรคตในหลังเดือนธันวาคม พ.ศ. 2417 แต่พระบรมศพได้รับการพระราชทานเพลิงพระบรมศพที่กรุงพนมเปญในปี พ.ศ. 2427
 
==อ้างอิง==