ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระองค์เม็ญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
}}
 
'''พระองค์เม็ญ''' (หรือ '''มี'''),<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 242</ref> '''พระองค์เจ้ามี'''<ref name="พงศาวดาร212">''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 212</ref><ref>ศานติ ภักดีคำ ผศ. ดร. ''เขมรสมัยหลังพระนคร''. กรุงเทพฯ : มติชน. 2556, หน้า 114</ref> หรือ '''นักองค์เม็ญ'''<ref name="พงศาวดาร239">''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 239</ref><ref name= "เม็ญ">ศานติ ภักดีคำ ผศ. ดร. ''เขมรสมัยหลังพระนคร''. กรุงเทพฯ : มติชน. 2556, หน้า 98</ref> ({{lang-km|អង្គមី}}; พ.ศ. 2358 — ธันวาคม พ.ศ. 2417) เป็นพระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรเขมรอุดง]]<ref>[http://www.ilovekhmer.org/blog/2009/07/list-of-khmer-king/ បញ្ជី​ព្រះនាម​ព្រះមហាក្សត្រ​ខ្មែរ​ពី​សតវត្ស​ទី​១ ដល់​បច្ចុប្បន្ន]</ref> เป็นพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี]] หรือนักองค์จัน ทั้งนี้พระองค์เม็ญเป็นหนึ่งใน[[รายพระนามพระมหากษัตริย์และรายนามประมุขแห่งกัมพูชา|ผู้ปกครอง]]ที่เป็นสตรีไม่กี่คนใน[[ประวัติศาสตร์กัมพูชา]]<ref>[http://www.guide2womenleaders.com/Cambodia_Heads.htm Female Heads of State of Cambodia]</ref> พระองค์เม็ญทรงเป็นที่รู้จักในนาม '''บา กง จั๊ว''' (พระนางเจ้าหญิง) หรือพงศาวดารกัมพูชาออกพระนามว่า '''บากุ๋นภู'''<ref name="พงศาวดาร233"/> มีพระนามเป็น[[ภาษาเวียดนาม]]ว่า '''เจ้าหญิงหง็อก เวิน''' ({{lang|vi|Công chúa Ngọc Vân}}, {{lang|vi|玉雲}}) และภายหลังมีตำแหน่งเป็น '''เจ้าหญิงหมี เลิม''' ({{lang|vi|Quận chúa Mỹ Lâm}}, {{lang|vi|美林}})
 
หลังสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดีเสวยทิวงคตในช่วงสงคราม[[อานามสยามยุทธ]] [[จักรพรรดิมิญ หมั่ง|พระเจ้ากรุงญวน]]จึงขุนนางจัดพระราชพิธีอภิเษกให้พระองค์เม็ญเสวยราชย์แทนพระราชบิดาขณะพระชนมายุ 20 พรรษา<ref name="พงศาวดาร233">''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 233</ref> เพราะในช่วงเวลานั้นเจ้านายเขมรที่เป็นชายเข้าไปพึ่งพระบรมโพธิสมภารพระเจ้ากรุงสยาม คงเหลือแต่เจ้านายเขมรผู้หญิง ฝ่ายญวนจึงกวาดเจ้านายเขมรไปเมืองญวน หวังให้เป็นประเทศราช<ref name="พงศาวดาร239251">''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 251</ref> พระองค์เม็ญถูกแต่งตั้งเป็นพระเจ้ากรุงกัมพูชาและปลดออกสองครั้ง พระองค์และพระภคินีถูกนำไปไว้ที่เมือง[[ไซ่ง่อน]] เพื่อให้กัมพูชาสิ้นเจ้านายปกครอง<ref name="พงศาวดาร192">''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3'', หน้า 192</ref><ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 239</ref>

ต่อมาราชสำนักเว้ก็ส่งพระองค์กลับ[[พนมเปญ]]หวังให้ชาวเขมรคลายความเจ็บแค้น แต่เมื่อพระเจ้ากรุงญวนทรงเห็นว่าไม่มีขุนนางเขมรนิยมชมชอบพระองค์เม็ญ จึงส่งพระองค์เม็ญไปเมืองเม็ญไปเมือง[[เจิวด๊ก|เมียดจรูก]]<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 242</ref> ภายหลังทัพญวนมิอาจต้านทานกองทัพประสมสยามกับเขมร จึงขอหย่าศึก ยอมปล่อยพระราชวงศ์เขมรที่ถูกนำไปควบคุมไว้ที่[[เว้]]ให้เป็นอิสระใน พ.ศ. 2388<ref>''เขมร "ถกสยาม"'', หน้า 100</ref>
 
== พระชนม์ชีพช่วงต้น ==
เส้น 34 ⟶ 36:
{{chart bottom}}
 
ทว่าหลังสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดีผู้มีนโยบายนิยมญวน<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3'', หน้า 113-114</ref> เสด็จทิวงคตเมื่อ พ.ศ. 2377 ราชสำนักกัมพูชาขาดผู้สืบราชสันตติวงศ์ เพราะพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศมีพระราชธิดาอยู่สี่พระองค์ คือ นักองค์แบน นักองค์มี นักองค์เภา และนักองค์สงวน<ref name="ถกสยาม">''เขมร "ถกสยาม"'', หน้า 99</ref><ref>''Sexual Culture in the east Asia'' pp, 127–155</ref> สมความมุ่งหมายของทั้งสยามและญวนที่ต้องการให้วงศ์กษัตริย์กัมพูชาสูญไป ในเวลานั้นพระอนุชาในสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดีสองพระองค์ คือ สมเด็จศรีไชยเชฐ พระมหาอุปราช หรือนักองค์อิ่ม และ[[สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี]] หรือนักองค์ด้วง ซึ่งประทับอยู่ในสยามอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ทันที แต่ฝ่ายญวนที่ปกครองเขมรอยู่นั้นไม่ยอมรับให้ทั้งสองสืบราชบัลลังก์ โดยเฉพาะสมเด็จพระศรีไชยเชษฐ หรือนักองค์อิ่ม ที่ถูกญวนคุมตัวไปไว้เมืองญวน<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 238</ref> เพราะหวังว่าฝ่ายญวนจะยกพระองค์ขึ้นเป็นพระเจ้าแผ่นดินเขมร<ref >''พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3'', หน้า 214-215</ref>
 
เบื้องต้นฝ่ายพระเจ้ากรุงญวนที่คิดจะเอาดินแดนเขมรมาไว้ในปกครอง จะตั้งให้เจ้านายผู้หญิง พระราชธิดาในสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดีทั้งสามพระองค์ ครองราชย์ร่วมกัน<ref name="พงศาวดาร166"/> ทว่าในเวลาต่อมาราชสำนักเว้และขุนนางเขมร หมายจะให้นักองค์แบน พระราชธิดาในสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี ขึ้นเสวยราชย์สืบบิดา แต่เพราะเจ้าหญิงพระองค์นี้นิยมสยาม และปฏิเสธที่จะเสกสมรสกับพระราชโอรสของพระเจ้ากรุงญวนเสียด้วย จึงมิได้ถูกเลือก<ref>Fieldnote, 2006</ref> ในขณะที่นักองค์เม็ญได้รับการโน้มน้าวจากขุนนางญวนให้เสกสมรสกับพระราชโอรสของ[[จักรพรรดิซา ล็อง]] (เอกสารไทยเรียก ยาลอง หรือองเชียงสือ) แต่แผนการนี้ถูกขุนนางเขมรคัดค้านอย่างหนัก โดยให้เหตุผลว่ามีวัฒนธรรมต่างกัน และไม่เหมาะควรที่จะให้เจ้านายผู้หญิงปกครองประเทศยาวนาน<ref name="พงศาวดาร166"/><ref>Gender in election, p. 7</ref>
เส้น 41 ⟶ 43:
พฤษภาคม พ.ศ. 2378 [[ราชวงศ์เหงียน|ราชสำนักเว้]]สถาปนานักองค์เม็ญเป็น "เจ้าหญิงเมืองขึ้น" ({{lang|vi|Quận chúa}}, {{lang|vi|郡主}}) และมีฐานันดรศักดิ์ต่ำกว่าเจ้าหญิงพระราชธิดากรุงญวน ({{lang|vi|Công chúa}}, {{lang|vi|公主}}) ส่วนพระภคินีพระองค์อื่น คือ นักองค์แบน หรือหง็อก เบี่ยน ({{lang|vi|Ngọc Biện}}, {{lang|vi|玉卞}}) นักองค์เภา หรือหง็อก ทู ({{lang|vi|Ngọc Thu}}, {{lang|vi|玉秋}}) และนักองค์สงวน หรือหง็อก เงวียน ({{lang|vi|Ngọc Nguyên}}, {{lang|vi|玉源}}) มีบรรดาศักดิ์เป็น "ท่านหญิงหัวเมืองน้อย" ({{lang|vi|Huyen quan}}, {{lang|vi|縣君}})<ref>A Comparation analysis of traditional and contemporary of female house hold p 48 by Andrey Riffaund</ref> ฝ่ายญวนทำการอารักขาพระองค์เม็ญอย่างใกล้ชิด มีทหารรักษาพระองค์สองกองร้อย รวม 100 นาย ส่วนพระภคินีอีกสามพระองค์ มีทหารอารักขาพระองค์ละ 30 นาย ทั้งนี้ก็เพื่อป้องกันมิให้เจ้านายเขมรคิดหลบหนีไปพึ่งสยาม<ref>''Lost goddesses: the denial of female power in Cambodian history'' by Trudy Jacobsen, p. 112</ref>
 
ในรัชสมัยของพระองค์เม็ญ มีพระราชบัญชาให้สตรีเขมรทุกคนสวมชุดญวนแทนการนุ่งผ้าสมปัก และไว้ผมยาวตามอย่างหญิงญวน<ref>Fieldnote, 2005, 2006</ref><ref>Violent against woman in Asian society 2003, p. 107</ref> ในตลาดมีการวางจำหน่าย[[อาหารเวียดนาม|อาหารญวน]] เลิกเปิบข้าวด้วยมือ<ref>David P. Chandler, A History of Cambodia,pp. 124 - 127</ref> นาฏกรรมเขมรเริ่มรับอิทธิพลจีนและญวน ข้าราชการเขมรต้องสวมชุดญวน และวัดพุทธของชาวเขมรถูกแปลงเป็นวัดแบบญวนเพื่อทำลายอัตลักษณ์เขมร<ref>Cambodian people by Sipar, p. 29</ref> สถานที่ต่าง ๆ ถูกเปลี่ยนเป็นภาษาญวน<ref name="ถกสยาม"/> บริเวณโดยรอบกรุงพนมเปญถูกเรียกว่า [[เจิ๊นเต็ยทั้ญ]] ({{lang|vi|Trấn Tây Thành}}, {{lang|vi|鎮西城}}) หรือเขตบริหารฝั่งตะวันตก<ref>Phnom Penh: a cultural and literary history By Milton Osborne, p. 51</ref> ชาวเขมรภายใต้การปกครองของเจ้านายผู้หญิง สิ้นหวังกับนโยบายการแผลงให้เป็นเวียดนาม (Vietnamization) จึงเรียกร้องให้ฝ่ายสยามแต่งตั้ง[[สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี|นักองค์ด้วง]] พระอนุชาของสมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี เสวยราชย์แทน<ref>{{cite web|url=http://www.chiangmai-chiangrai.com/ayutthaya19.html|title=Ayutthaya, Capital of a Kingdom, Part 19|website=www.Chiangmai-Chiangrai.com|access-date=6 August 2017|archive-url=https://web.archive.org/web/20170806062649/http://www.chiangmai-chiangrai.com/ayutthaya19.html|archive-date=6 August 2017|url-status=dead}}</ref>
 
พ.ศ. 2383 นักองค์แบน พระเชษฐภคินีของพระองค์เม็ญ ถูกทางการญวนจับได้ว่าทรงลับลอบติดต่อกับนักเทพ พระชนนี และพระองค์แก้ว ผู้เป็นลุง ที่พลัดไปเมือง[[พระตะบอง]]ซึ่งอยู่ในเขตอิทธิพลของสยาม สำหรับการหลบหนี [[จักรพรรดิมิญ หมั่ง]] จึงมีพระบรมราชโองการให้จับเจ้านายเขมรไปคุมขังที่[[พนมเปญ]]เพื่อพิจารณาคดี ต่อมามีพระราชโองการปลดพระองค์เม็ญในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2384 ก่อนเนรเทศเจ้าหญิงเขมรพร้อมเครื่องราชกกุธภัณฑ์ไป[[ไซ่ง่อน]]<ref name="พงศาวดาร192"/><ref name="ถกสยาม"/><ref>{{cite web|url=http://www.san.beck.org/20-9-Siam,Laos,Cambodia1800-1950.html|title=Siam, Cambodia, and Laos 1800-1950 by Sanderson Beck|website=www.san.Beck.org|access-date=6 August 2017}}</ref> บรรดาขุนนางและข้าราชการเขมรมองว่าการที่ญวนทำเช่นนี้ เสมือนการล้างบางเจ้าเขมรให้สูญวงศ์ อาณาประชาราษฎร์ต่างพากันโกรธแค้นและเจ็บปวดกับนโยบายของญวน<ref name="พงศาวดาร239"/> ขุนนางญวนส่งเจ้าหญิงเขมรทั้งสี่พระองค์ไว้ที่เมืองลงโฮ เจ้าเมืองลงโฮนำส่งเจ้าหญิงเขมรสามพระองค์คือ นักองค์มี นักองค์เภา และนักองค์สงวนไปไซ่ง่อน แล้วกุมนักองค์แบนไว้ เพราะพระชนนีของพระองค์หนีไปพึ่งสยามในกรุงเทพฯ ฝ่ายญวนมองว่าการกระทำเช่นนี้เป็นการทรยศ จึงนำนักองค์แบนไปสำเร็จโทษที่เมืองลงโฮ เมื่อพระชันษา 32 ปี<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 240</ref> เอกสารเขมรระบุว่านักองค์แบนสิ้นพระชนม์จากการจมน้ำที่[[แม่น้ำโขง]] ส่วนเอกสารของคิน สก (Khin Sok) ระบว่านักองค์แบนถูกทรมานจนสิ้นพระชนม์ ทหารญวนจึงนำพระศพไปทิ้งน้ำ<ref>Trudy Jacobsen, ''Lost goddesses: the denial of female power in Cambodian history'', p. 113</ref> ในเวลาต่อมา พระองค์เม็ญ พระขนิษฐา และสมเด็จศรีไชยเชษฐ ถูกนำไปไว้ที่เมือง[[เว้]]<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 241</ref>
พระองค์หญิงแบน พระเชษฐภคินีของพระมหาราชินีองค์มีทรงประสบกับพระชะตาที่เหมือนกัน หลังจากทางการเวียดนามตรวจพบว่าพระองค์หญิงแบนทรงแค้นพระทัยอย่างมากที่เวียดนามกระทำการย่ำยีประเทศชาติของพระนางจึงทรงติดต่อกับพระมารดาและพระมาตุลาของพระนางซึ่งประทับอยู่ที่เมือง[[พระตะบอง]]และพระนางทรงวางแผนที่จะลี้ภัยไปยังสยาม ซึ่งทางสยามยินดีที่จะช่วยเหลือ แต่แผนการกลับรั่วไหลพระนางทรงถูกจองจำและไต่สวนความผิดที่กรุง[[พนมเปญ]] [[สมเด็จพระจักรพรรดิมิน มาง]]แห่งเวียดนามทรงประกาศถอดถอนกษัตรีองค์มีและลดพระอิสริยยศของพระองค์หญิงทั้งสี่ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2384 ทุกพระองค์ถูกจับและถูกคุมพระองค์มาที่เวียดนามพร้อมข้าราชบริพาร<ref>[http://www.san.beck.org/20-9-Siam,Laos,Cambodia1800-1950.html Siam, Cambodia, and Laos 1800-1950]</ref> ในเวลานั้นพระบรมวงศานุวงศ์บางพระองค์ของพระองค์มีทรงถูกจองจำที่[[เกาะคอนสอน]] ตามเอกสารของฝ่ายไทยและกัมพูชาระบุไว้ว่าพระองค์หญิงแบนทรงถูกทหารเวียดนามจับใส่ถุงกระสอบถ่วงน้ำจนสิ้นพระชนม์ที่[[แม่น้ำโขง]]จากการเป็นทุรยศต่อเวียดนาม ถึงแม้ว่า คิน สก ได้ระบุไว้ว่า พระองค์หญิงแบนทรงถูกทารุณกรรมจนสิ้นพระชนม์และทหารเวียดนามนำพระศพไปถ่วงแม่น้ำโขง<ref>Trudy Jacobsen, Lost goddesses: the denial of female power in Cambodian history, p.113</ref> การกระทำเช่นนี้ของเวียดนามในสายตาของชาวกัมพูชาแล้วเท่ากับเป็นการ "...ทำลายล้างวงศ์เจ้านาย ไม่มีพระมหากษัตริย์ปกครองต่อไปจะให้เมืองเขมรวินาศแลให้อยู่ในเงื้อมมือของญวนฝ่ายเดียว..."<ref>นายพันตรีหลวงเรืองเดช ธนะรัชต์ (แปล). ''ราชพงศาวดารกรุงกัมพูชา ฉบับหอสมุดแห่งชาติ''. พิมพ์ครั้งที่ 2. พระนคร:แพร่วิทยา, 2513, หน้า 257</ref>
 
ในช่วงที่แผ่นดินกัมพูชาว่างกษัตริย์ เป็นระยะเวลาแห่งความสับสนวุ่นวายในกัมพูชา ด้วยว่า {{cquote|ขุนนางน้อยใหญ่เจ้ากรมการทุก ๆ หัวเมืองและอาณาประชาราษฎรทุกคน พากันโกรธแคืองเจ็บแค้นญวนเปนอันมาก ก็ชักชวนกันรวมเปนหมู่เปนพวกไล่จับองญวนที่อยู่กำกับรักษาราชการตามหัวเมืองฆ่าเสียเปนหลายคน...ฝ่ายขุนนางแลราษฎรเขมรเมื่อเห็นว่าบ้านเมืองไม่มีกระษัตริย์แลไม่มีเจ้านายของตนปกครองแล้ว ต่างคนต่างก็ตั้งตนขึ้นเปนเจ้าฟ้าทะละหะบ้าง เปนออกญาจักรี ออกญาวังบ้างกับตำแหน่งอื่นๆทุกๆตำแหน่ง แล้วรวบรวมกันตั้งเป็นกองทัพทุกๆเมืองไม่ยอมอ่อนน้อมขึ้นกับญวน<ref>นายพันตรีหลวงเรืองเดช ธนะรัชต์ (แปล). ''ราชพงศาวดารกรุงกัมพูชา ฉบับหอสมุดแห่งชาติ'', พิมพ์ครั้งที่ 2. พระนคร:แพร่วิทยา, 2513, หน้า 257</ref>}}
 
[[ไฟล์:Nangklao portrait.jpg|thumb|[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]แห่งสยามทรงส่งกองทัพเข้ามากัมพูชาและมีพระบรมราชโองการว่า "หากเขมรสงบเรียบร้อยเมื่อใดให้อภิเษกพระองค์ด้วงขึ้นครองเขมร"]]
ขุนนางชาวกัมพูชาและผู้ติดตามจำนวนมากได้ก่อกบฏต่อต้านการปกครองเวียดนามในกรณีสิ้นพระชนม์ของพระองค์หญิงแบนและการจับกุมพระมหาราชินีองค์มี รัฐบาลเวียดนามในกรุงพนมเปญได้เรียกร้องไปยังรัฐบาลกลางให้เชิญพระองค์มีกลับมาเพื่อขจัดการก่อกบฏแต่สมเด็จพระจักรพรรดิมิน มางทรงปฏิเสธข้อเรียกร้อง อย่างไรก็ตามในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2384 ในเวลาที่พระนางเสด็จกลับพนมเปญได้มีการออกประกาศสู่ทางการท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนราชบัลลังก์ของพระนาง ในขณะนั้นนักองค์ด้วงได้รับการสนับสนุนจากอุดง<ref>Lost goddesses: the denial of female power in Cambodian history By Trudy Jacobsen, p.114</ref> พระมหาราชินีองค์มีทรงกลับคืนสู่ราชบัลลังก์อีกครั้งและพระองค์หญิงโพธิ์ พระขนิษฐาได้รับการเลือกให้เป็นองค์รัชทายาทในปีพ.ศ. 2387 อย่างไรก็ตามราชสำนักกัมพูชายังคงอยู่ภายใต้เวียดนามจนกระทั่งเดือนตุลาคม พ.ศ. 2389 เมื่อเวียดนามได้ปลดปล่อยพระราชธิดาของ[[สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี]] (นักองค์ด้วง) และข้าราชบริพารชาวกัมพูชาได้มาร่วมกับนักองค์ด้วงที่กรุงอุดง ปัญหาไทยและเวียดนามในกรณีกัมพูชาได้รับการแก้ปัญหาโดยผลมาจากการประนีประนอมโดยให้ทั้งนักองค์ด้วงและพระองค์หญิงมีครองราชสมบัติร่วมกัน ทางฝ่ายไทยโดย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระบรมราชโองการว่า "หากเขมรสงบเรียบร้อยเมื่อใดให้อภิเษกพระองค์ด้วงขึ้นครองเขมร" ดังนั้น เมื่อกองทัพของเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สามารถจัดการเหตุการณ์ในเขมรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงมีการอภิเษกนักองค์ด้วงขึ้นครองราชสมบัติที่เขมรเมื่อพระชนมายุ 51 พรรษา มีพระนามว่า "สมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดี" ตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2390 โดยได้สืบราชสมบัติต่อจากพระราชินีองค์มี ผู้ซึ่งเป็นพระนัดดา <ref>[http://cambodiatheroyalandourland.blogspot.com/2008/06/restorer-of-monarchy.html Restorer of the Monarchy]</ref> (ภายหลังทรงแก้พระนามเป็น "สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี" เมื่อ พ.ศ. 2394)
 
เส้น 56 ⟶ 57:
 
==บั้นปลายพระชนม์ชีพและสวรรคต==
[[ไฟล์:King Norodom.jpg|thumb|[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร]] ทรงปล่อยให้พระนางอยู่ในความดูแลของข้าราชบริพารเก่าแก่ในอุดง ส่วนพระราชวงศ์ได้ย้ายไปประทับที่พนมเปญ]]
ในตลอดพระชนม์ชีพของกษัตรีองค์มีด้วยความทรงจำเกี่ยวกับความตายและการเสื่อมเสียชื่อเสียงเป็นเวลากว่า 20 ปี [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร]] ทรงปล่อยให้พระนางอยู่ในความดูแลของข้าราชบริพารเก่าแก่เมื่อพระองค์และราชสำนักได้ย้ายไปที่[[พนมเปญ]] ที่เมือง[[อาณาจักรเขมรอุดง|อุดง]] กษัตรีองค์มีทรงเชื่อว่าพระนางยังคงมีเกียรติยศอยู่บ้างและข้าราชบริพารของพระนางสามารถบรรเทาความโกรธแค้นของชาวบ้านให้สงบลงได้ซึ่งพระนางมักจะทำร้ายทุบตีเมื่อพระสติของพระนางผิดปกติหรือจ่ายสำหรับสินค้าที่ซึ่งพระนางทรงถือสิทธิครอบครองสินค้าจากแม่ค้าในตลาด<ref>River Road to China: The Search for the Source of the Mekong, 1866-73 By Milton Osborne p.26</ref>
 
บรรทัด 71:
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = [[เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค)|ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพระยา]] | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 | URL =| พิมพ์ที่ = ไทยควอลิตี้บุ๊คส์ (2006) | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2560 | ISBN = 978-616-514-575-6 | จำนวนหน้า = 360}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = เรืองเดชอนันต์ (ทองดี ธนรัชต์), พันตรี หลวง | ชื่อหนังสือ = ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา | URL =| พิมพ์ที่ = ไทยควอลิตี้บุ๊คส์ (2006) | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2563 | ISBN = 978-616-514-668-5 | จำนวนหน้า = 336}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = ศานติ ภักดีคำ | ชื่อหนังสือ = เขมร "ถกสยาม" | URL =| พิมพ์ที่ = มติชน | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2553 | ISBN = 978-974-02-0418-3 | จำนวนหน้า = 208}}
 
{{เริ่มกล่อง}}