ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามฟอล์กแลนด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 46:
}}
 
'''สงครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์''' ({{lang-en|Falklands War}}; {{lang-es|Guerra de las Malvinas}}) เป็นสงครามที่ไม่ได้ประกาศในระยะเวลา 10 สัปดาห์ ระหว่าง[[ประเทศอาร์เจนตินา|อาร์เจนตินา]] และ[[สหราชอาณาจักร]] ในปี ค.ศ. 1982 บน[[ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน|ดินแดนที่ขึ้นกับบริติช]]สองแห่งในแอตแลนติกทางตอนใต้: [[หมู่เกาะฟอล์กแลนด์]] และ[[ดินแดนในภาวะพึ่งพิง]] [[เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช]] ผลลัทธ์ของสงครามคือ บริติชชนะ
'''สงครามหมู่เกาะฟอล์กแลนด์''' ({{lang-en|Falklands War}}; {{lang-es|Guerra de las Malvinas}}) เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2525 [[อาร์เจนตินา]]ส่งทหารเข้ายึด[[หมู่เกาะฟอล์กแลนด์]] หมู่เกาะอันเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ซึ่งถือว่าเป็นการประกาศสงครามของอาร์เจนตินา ซึ่งเป็นประเทศกำลังพัฒนา ต่ออังกฤษประเทศมหาอำนาจในขณะนั้น โดยอาร์เจนตินาถือว่าหมู่เกาะฟอล์กแลนด์แท้จริงแล้วคือหมู่เกาะมัลบีนัสของตนที่ถูกอังกฤษยึดครองมากว่าศตวรรษ [[6 เมษายน]] ปีเดียวกัน อังกฤษจัดตั้ง[[คณะรัฐมนตรีสงคราม]] นำโดย[[มาร์กาเรต แทตเชอร์]] และเมื่อการตัดสินใจมาถึง "เราจะไม่ยึดติดกับปัญหาต่างๆ" นางแทตเชอร์ประกาศ<ref name="Freedman2005">{{cite book|author=Lawrence Freedman |authorlink=Lawrence Freedman|title=The Official History of the Falklands Campaign: War and diplomacy|url=http://books.google.com/books?id=PSsxmXWChqIC&pg=PP7|accessdate=8 January 2012|volume=2|date=9 August 2005|publisher=Routledge, Taylor & Francis Group|isbn=978-0-7146-5207-8|pages=21–22}}: "''day-to-day oversight was to be provided by&nbsp;... which came to be known as the War Cabinet. This became the critical instrument of crisis management''".</ref>
 
ความขัดแย้งครั้งนี้ได้เริ่มขึ้นในวันที่ 2 เมษายน เมื่ออาร์เจนตินาได้ทำการบุกรุกและยึดครองหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ ตามมาด้วยการบุกครองเกาะเซาท์จอร์เจียในวันต่อมา เมื่อวันที่ 5 เมษายน รัฐบาลบริติชได้ส่งกองกำลังทางเรือเพื่อต่อกรกับกองทัพเรือและกองทัพอากาศของอาร์เจนติน่า ก่อนที่จะทำการโจมตีด้วยสะเทิ้นน้ำสะเทินบกบนหมู่เกาะ ความขัดแย้งครั้งนี้ได้กินเวลาไป 74 วัน และจบลงด้วยการยอมจำนนของอาร์เจนติน่าในวันที่ 14 มิถุนายน ได้ส่งคืนเกาะให้อยู่ในการควบคุมของบริติช โดยรวมแล้ว บุคคลากรทางทหารของอาร์เจนติน่า 649 นาย บุคคลากรทางทหารของบริติช 255 นาย และชาวเกาะฟอล์กแลนด์สามคนล้วนเสียชีวิตในการสงคราม
== ผลของสงคราม ==
 
สงครามสิ้นสุดลงในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1982 โดยอาร์เจนตินาเป็นฝ่ายแพ้สงคราม สงครามครั้งนี้อังกฤษสูญเสียทหารไปทั้งสิ้น 255 คน ฝ่ายอาร์เจนตินาสูญเสียทหารไป 649คน ต่างฝ่ายต่างสูญเสียเรือและเครื่องบินพอ ๆ กัน
ความขัดแย้งครั้งนี้เป็นเหตุการณ์สำคัญในความขัดแย้งที่ยืดเยื้อเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยของดินแดน อาร์เจนติน่าได้แสดงสิทธิ์(และคอยค้ำจุนรักษา) ว่าหมู่เกาะเหล่านี้เป็นดินแดนของอาร์เจนติน่า<ref>{{cite web|date=4 January 2012|title=Argentine to reaffirm Sovereignty Rights over The Falkland Islands|url=http://www.nationalturk.com/en/argentina-to-reaffirm-sovereignty-rights-over-the-falkland-islands-15712|access-date=7 January 2012|publisher=National Turk}}</ref> และรัฐบาลอาร์เจนติน่าจึงได้แสดงให้เห็นถึงปฏิบัติการทางทหารว่าเป็นการเรียกคืนดินแดนของตน รัฐบาลบริติชได้ถือว่าการกระทำดังกล่าวเป็นการบุกครองดินแดนที่เคยเป็นอาณานิคมในพระองค์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1841 ชาวเกาะฟอล์กแลนด์ ที่อาศัยอยู่ในหมู่เกาะเหล่านี้นับตั้งแต่ต้นศตวรรษที่ 19 ส่วนใหญ่เป็นเหล่าบรรดาลูกหลานของผู้ตั้งถิ่นฐานชาวบริติช และให้การสนับสนุนอำนาจอธิปไตยของบริติชอย่างมาก รัฐทั้งสองฝ่ายยังไม่ได้ประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ แม้ว่าทั้งสองรัฐบาลจะประกาศให้หมู่เกาะเหล่านี้เป็นเขตสงครามก็ตาม
 
ความขัดแย้งครั้งได้มีผลอย่างมากในประเทศทั้งสองฝ่ายและเป็นเรื่องราวในหนังสือ บทความ ภาพยนตร์ และเพลงต่าง ๆ ความรู้สึกรักชาติอยู่ในระดับสูงในอาร์เจนติน่า แต่ผลลัพธ์ที่ไม่เป็นใจทำให้เกิดการประท้วงครั้งใหญ่ต่อรัฐบาลทหารที่ปกครองอยู่ ได้เร่งก่อให้เกิดการล่มสลายและกลายมาเป็นประชาธิปไตยภายในประเทศ ในสหราชอาณาจักร รัฐบาลฝ่ายอนุรักษ์นิยม ได้รับแรงสนับสนุนจากผลความสำเร็จที่ตามมา ได้รับการเลือกตั้งอีกครั้งโดยมีเสียงข้างมากเพิ่มขึ้นในปีถัดมา ผลกระทบทางวัตนธรรมและการเมืองของความขัดแย้งในสหราชอาณาจักรนั้นมีน้อยกว่าในอาร์เจนติน่า ซึ่งยังเป็นหัวข้อสนทนาทั่วไป<ref>{{cite web|date=1 April 2007|title=Cómo evitar que Londres convierta a las Malvinas en un Estado independiente|url=http://www.clarin.com/suplementos/zona/2007/04/01/z-03415.htm|access-date=7 February 2010|publisher=Clarin}}</ref>
 
ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสหราชอาณาจักรและอาร์เจนติน่าได้รับการฟื้นฟูในปี ค.ศ. 1989 ภายหลังการประชุมในมาดริด ซึ่งรัฐบาลทั้งสองประเทศได้ออกแถลงการณ์ร่วมกัน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในจุดยืนของประเทศใด ๆ เกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยของหมู่เกาะฟอล์กแลนด์อย่างชัดเจน ในปี ค.ศ. 1994 อาร์เจนติน่าได้ประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญ]]ฉบับใหม่<ref>{{cite web|title=Constitución Nacional|url=http://www.senado.gov.ar/web/interes/constitucion/cuerpo1.php|archive-url=https://web.archive.org/web/20040617152239/http://www.senado.gov.ar/web/interes/constitucion/cuerpo1.php|archive-date=17 June 2004|website=Argentine Senate|language=es|quote=La Nación Argentina ratifica su legítima e imprescriptible soberanía sobre las Islas Malvinas, Georgias del Sur y Sandwich del Sur y los espacios marítimos e insulares correspondientes, por ser parte integrante del territorio nacional.}}</ref> ซึ่งได้ประกาศให้หมู่เกาะฟอล์กแลนด์เป็นจังหวัดหนึ่งของอาร์เจนติน่าตามกฏหมาย<ref>{{Cite web|title=Argentina: Constitución de 1994|url=https://pdba.georgetown.edu/Constitutions/Argentina/argen94_e.html|access-date=2020-08-03|website=pdba.georgetown.edu}}</ref> อย่างไรก็ตาม หมู่เกาะเหล่านี้ยังคงอยู่ในฐานะ[[ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน|ดินแดนโพ้นทะเลของบริติช]]ที่ปกครองด้วยตนเอง{{sfn|Cahill|2010|loc="Falkland Islands"}}
 
== อ้างอิง ==