ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาสมุทรแปซิฟิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เว็บย่อ
บรรทัด 16:
'''มหาสมุทรแปซิฟิก''' ({{lang-en|Pacific Ocean}}) เป็นมหาสมุทรที่ใหญ่และลึกที่สุดในโลก มีอาณาเขตติดกับ[[มหาสมุทรอาร์กติก]]ทางตอนเหนือและจรด[[ทวีปแอนตาร์กติกา]]ทางตอนใต้ ติดกับ[[ทวีปเอเชีย]]และ[[ทวีปออสเตรเลีย]]ทางทิศตะวันตก ติด[[ทวีปอเมริกา]]ทางทิศตะวันตก
 
มหาสมุทรนี้มีพื้นที่กว่า 165,250,000 ตารางกิโลเมตรจึงกลายเป็น[[มหาสมุทรโลก|มหาสมุทรที่ใหญ่ที่สุดในโลก]]ครบคลุมพื้นที่ผิวโลกทั้งหมด 32% และคิดเป็น 46% ของ[[อุทกภาค|พื้นผิวน้ำบนโลก]] นอกจากนี้มหาสมุทรแปซิฟิกยังมีขนาดมากกว่าพื้นดินทั้งหมดบนโลก (148,000,000 square kilometersตารางกิโลเมตร) รวมกันอีกด้วย<ref name="ebc">"[https://www.britannica.com/place/Pacific-Ocean Pacific Ocean]". ''[[Encyclopædia Britannica|Britannica Concise]].'' 2008: Encyclopædia Britannica, Inc.</ref> จุดศูนย์กลางของ[[ซีกโลกแห่งน้ำ]]และ[[ซีกโลกตะวันตก]]ล้วนอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก กระแสน้ำในมหาสมุทร (ที่เป็นผลจาก[[แรงคอริออลิส]]) ถูกแบ่งออกเป็นส่วนส่วนซึ่งจะมาพบกันใกล้บริเวณ[[เส้นศูนย์สูตร]] ทั้งนี้[[หมู่เกาะกาลาปาโกส]] [[หมู่เกาะกิลเบิร์ต]] และหมู่เกาะอื่น ๆ ที่คร่อมเส้นศูนย์สูตรทั้งหมดถือว่าอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้<ref name="IHO1953">{{cite journal|author=International Hydrographic Organization|date=1953|url=https://iho.int/uploads/user/pubs/standards/s-23/S-23_Ed3_1953_EN.pdf|title=Limits of Oceans and Seas|journal=Nature|volume=172|issue=4376|pages=484|edition=3rd|access-date=28 December 2020|bibcode=1953Natur.172R.484.|doi=10.1038/172484b0|s2cid=36029611|archive-url=https://web.archive.org/web/20111008191433/http://www.iho.int/iho_pubs/standard/S-23/S-23_Ed3_1953_EN.pdf|archive-date=8 October 2011}}</ref>
 
มหาสมุทรแปซิฟิกมีความลึกเฉลี่ยที่ 4,000 เมตร<ref>{{Cite web|url=https://oceanexplorer.noaa.gov/facts/pacific-size.html|title=How big is the Pacific Ocean?|last=Administration|first=US Department of Commerce, National Oceanic and Atmospheric|website=oceanexplorer.noaa.gov|language=EN-US|access-date=18 October 2018}}</ref> มีจุดที่ลึกที่สุดคือ[[แชลเลนเจอร์ดีป]]ใน[[ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา]]โดยมีสถิติอยู่ที่ 10,928 เมตร<ref>{{Cite web|url=https://fivedeeps.com/wp-content/uploads/2019/05/FDE-Challenger-Release-FINAL-5132019.pdf|title=Deepest Submarine Dive in History, Five Deeps Expedition Conquers Challenger Deep}}</ref> นอกจากนี้ยังมีจุดที่ลึกที่สุดในแปซิฟิกใต้อย่าง[[ฮอไรซันดีป]]ใน[[ร่องลึกตองงา]]ที่มีสถิติความลึกอยู่ที่ 10,928 เมตร<ref>{{Cite web|url=https://fivedeeps.com/wp-content/uploads/2019/06/2019-06-11-FDE-Press-Release-Tonga.pdf|title=CONFIRMED: Horizon Deep Second Deepest Point on the Planet}}</ref> ส่วนจุดที่ลึกที่สุดในโลกเป็นอันดับสามก็ยังคงอยู่ในร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา