ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kanchaporn Tantivichitvech (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1:
== {{ต้องการอ้างอิง ==}}
'''เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม''' สัญลักษณ์ คือ '''ℓ''' (Azimuthal quantum number หรือ Orbital angular momentum quantum number) เป็น[[เลขควอนตัม]]สำหรับวงโคจรของอะตอม ที่ใช้บอก[[โมเมนตัมเชิงมุม]]สำหรับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสและใช้บอกรูปร่างของ[[ออร์บิทัลเชิงโมเลกุล|ออร์บิทัล]]ที่อิเล็กตรอนนั้นครอบครองอยู่ เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุมเป็นเลขอันดับ 2 ในชุดของเลขควอนตัม ซึ่งเลขควอนตัมนี้เป็นเลขที่อธิบาย[[สถานะควอนตัม]]ของอิเล็กตรอน เลขควอนตัม ประกอบด้วย [[เลขควอนตัมหลัก]] (Principal quantum number) เลขควอนตัมโมเมนตัมเชิงมุม (Azimuthal quantum number) [[เลขควอนตัมแม่เหล็ก]] (Magnetic quantum number) และ[[เลขควอนตัมสปิน]] (Spin quantum number)
 
เส้น 69 ⟶ 70:
ตัวอักษรภาษาอังกฤษ s, p, d, f ที่เป็นชื่อออร์บิทัล มาจากการสังเกต[[เส้นสเปกตรัม]] ซึ่งบางเส้นคมชัด (shape) บางเส้นเข้มจึงน่าจะเป็นเส้นหลัก (principle) บางเส้นพร่า (diffuse) บางเส้นพบบ่อย ๆ หรือพบได้ง่าย (fundamental) ต่อมาจึงเรียงตามตัวอักษรเพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ อักษรตัวถัดจาก f คือ g ดังนั้นถ้าในอนาคตเราพบธาตุในออร์บิทัลใหม่ก็จะให้ชื่อต่อจาก f คือ g, h, I, j, ….
 
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์อะตอม]]
== อ้างอิง ==
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/285/19/quantum.htm
 
https://enchemcom1a.wordpress.com/%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A1/%E0%B8%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A1/