ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Thastp/ทดลองเขียน1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 49:
 
== การสื่อสารระหว่างบุคคล ==
สื่อกลางของการถ่ายทอดความรู้สึกและอิทธิพลโดยไม่ใช้คำพูดนี้มีหน้าที่หลักในความสัมพันธ์ใกล้ชิด ตัวแบบความปลอดภัยทางอารมณ์ (Emotional Safety model) จากการบำบัดชีวิตคู่ (couples therapy) พยายามระบุสาร (message) ทางผัสสารมณ์ซึ่งเกิดขึ้นภายในความสัมพันธ์ทางอารมณ์ของคู่รัก (คู่นี้รู้สึกอย่างไรกับตัวเอง ระหว่างกัน และต่อความสัมพันธ์ของตัวเอง) และที่สำคัญที่สุดคือสารที่เกี่ยวกับ (ก) ความปลอดภัยของความผูกพัน และ (ข) แต่ละคนถูกให้ค่าอย่างไร
This nonverbal mode of conveying feelings and influence is held to play a central role in intimate relationships. The Emotional Safety model of couples therapy seeks to identify the affective messages that occur within the couple's emotional relationship (the partners' feelings about themselves, each other, and their relationship); most importantly, messages regarding (a) the security of the attachment and (b) how each individual is valued.
 
One practical application of affect theory has been its incorporation into ทฤษฎีผัสสารมณ์ถูกนำมาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติใน[[การบำบัดชีวิตคู่]] (couples therapy]].)<ref>Catherall, Don R. (2007). ''Emotional Safety: Viewing Couples Through the Lens of Affect''. New York: Routledge, {{ISBN|0-415-95451-7}}</ref><ref>Kelly, Vernon C. (2012). ''The Art of Intimacy and the Hidden Challenge of Shame''. Rockland, Maine: Maine Authors Publishing.</ref> Two characteristics of affects have powerful implications for intimate relationshipsคุณลักษณะสองอย่างของผัสสารมณ์มีความเกี่ยวพันอย่างสูงกับความสัมพันธ์ใกล้ชิด:
 
#ตามทอมกินส์ คุณลักษณะหลักของผัสสารมณ์คือการประสานกันทางผัสสารมณ์ (affective resonance) ซึ่งหมายถึงแนวโน้มที่คน ๆ หนึ่งจะตอบสนองต่อผัสสารมณ์ที่ผู้อื่นแสดงด้วยการประสานและประสบผัสสารมณ์เดียวกันหรือก็คือ "การติดต่อ" (contagion) การประสานกันทางผัสสารมณ์ถูกถือว่าเป็นพื้นฐานต้นแบบของ[[การสื่อสารของมนุษย์]] (human communication) ทุกรูปแบบ (ก่อนที่มีคำพูด ก็มีการยิ้มและ[[การพยักหน้า]] (nod (gesture)))
#According to Tomkins, a central characteristic of affects is affective resonance, which refers to a person's tendency to resonate and experience the same affect in response to viewing a display of that affect by another person, sometimes thought to be "contagion". Affective resonance is considered to be the original basis for all [[human communication]] (before there were words, there was a smile and a [[nod (gesture)|nod]]).
#ตามทอมกินส์ ผัสสารมณ์ให้ความรู้สึกเร่งเร้ากับแรงผลักดันที่ต่ำ ผัสสารมณ์จึงเป็นแหล่งของ[[แรงจูงใจ]] (motivation) ที่ทรงพลัง หรือตามที่ทอมกินส์พูดคือ ผัสสารมณ์ทำให้สิ่งที่ดีนั้นดีกว่าและทำให้สิ่งที่แย่นั้นแย่ลง
#Also according to Tomkins, affects provide a sense of urgency to the less powerful drives. Thus, affects are powerful sources of [[motivation]]. In Tomkins' words, affects make good things better and bad things worse.
 
== บทวิจารณ์ ==