ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Oohlanla (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิง
Oohlanla (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 711:
}}</ref>{{rp|1}} มาตรการของรัฐทำให้อุตสาหกรรมรถยนต์มีดัชนีสมรรถนะการผลิต (MPI) ในเดือนเมษายน 2563 ลดลงปีต่อปีร้อยละ 82 นับเป็นการผลิตที่ต่ำสุดตั้งแต่ปี 2530 อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบหนักรองลงมา ได้แก่ ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์, มอลต์และเครื่องดื่มมอลต์ ระบบเครื่องปรับอากาศและน้ำตาล<ref name="unido"/>{{rp|2}} ส่วนอุตสาหกรรมที่มี MPI เพิ่มขึ้นในเดือนเมษายน 2563 ได้แก่ คอนกรีตและซีเมนต์ การแพทย์ แผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อาหารทะเลแช่แข็ง และอาหารสัตว์ โดยเพิ่มขึ้นปีต่อปีตั้งแต่ร้อยละ 10 ถึง 40<ref name="unido"/>{{rp|2}}
 
ตั้งแต่วันที่ 18 กรกฎาคม เกิด[[การประท้วงในประเทศไทย พ.ศ. 2563|การประท้วง]]เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจ และมาตรการตอบสนองของรัฐบาลที่ล้มเหลว ในเดือนสิงหาคม มีการเปิดเผยตัวเลขเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2 ของปี 2563 พบว่าเศรษฐกิจไทยหดตัวร้อยละ 12.2 อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 1.95 หรือประมาณ 8 แสนคน ด้านมหาวิทยายลัยหอการค้าไทยเปิดเผยว่า หากสถานการณ์เศรษฐกิจไม่ดีขึ้นใน 6 เดือนจะมีการปลดคนงานเพิ่มขึ้นเป็น 2 ล้านคน<ref>{{cite news |title=ขีดเส้น6เดือนเศรษฐกิจไม่กระเตื้องตกงานอีก2ล้านคน |url=https://www.posttoday.com/economy/news/631073?utm_source=posttoday.com&utm_medium=article_relate_inread&utm_campaign=new%20article |accessdate=23 August 2020 |work=โพสต์ทูเดย์ |language=en}}</ref> ด้านนายกรัฐมนตรีกล่าวโทษการประท้วงว่าทำให้เศรษฐกิจทรุดหนักเข้าไปอีก รายงานของธนาคารโลกคาดการณ์ว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะหดตัวลงร้อยละ 8.9 ซึ่งเป็นกาการลดลงมากที่สุดในบรรดา 9 ประเทศที่จัดอันดับ<ref>{{cite news |title=ธ.โลกประเมินเศรษฐกิจไทยปีนี้ ถดถอยมากที่สุดในภูมิภาคอาเซียน |url=https://www.bbc.com/thai/thailand-54338090 |accessdate=11 October 2020 |work=BBC ไทย |date=29 September 2020 |language=th}}</ref>
{{โครงส่วน}}