ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การล้อมฌาโดวีล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Infobox military conflict|conflict=การล้อมจาดอทวิล|partof=ปฏิบัติการมอร์เธอร์ในวิก...
(ไม่แตกต่าง)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:46, 10 มกราคม 2564

การล้อมที่จาดอทวิล เป็นการสู้รบที่เกิดขึ้นในเดือนกันยายน ค.ศ. 1961 ซึ่งมีกองกำลังทหารชาวไอริชจำนวนเพียงเล็กน้อยที่ทำหน้าที่ที่เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการในคองโกของสหประชาชาติ(Opération des Nations Unies au Congo, ONUC) ได้ถูกปิดล้อมในเมืองเหมืองของจาดอทวิล (ปัจจุบันคือ ลิกาซี) โดยกองกำลังคาทันกาที่จงรักภักดีต่อรัฐคาตันกาที่แยกตัวออกมา การปิดล้อมได้เกิดขึ้นในช่วงเจ็ดวันของการเผชิญหน้าระหว่าง ONUC และกองกำลังคาตันกาในช่วงปฏิบัติการมอร์เธอร์ แม้ว่าทหารชาวไอริชจะต้านทานการโจมตีของคาตันกาเป็นเวลาห้าวัน ในขณะที่กองกำลังบรรเทาวงล้อมของกองกำลังไอริช อินเดีย และสวีเดนได้พยายามที่จะช่วยเหลือพวกเขา แต่จนในที่สุด พวกเขาก็ถูกบังคับให้ยอมจำนน ต่อมาพวกเขาถูกจับเป็นเชลยเป็นเวลาหนึ่งเดือนจนได้รับการปล่อยตัวโดยไม่มีใครเสียชีวิต

การล้อมจาดอทวิล
ส่วนหนึ่งของ ปฏิบัติการมอร์เธอร์ในวิกฤตการณ์คองโก
การล้อมฌาโดวีลตั้งอยู่ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
Jadotville
Jadotville
การล้อมฌาโดวีล (สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก)
วันที่13–17 September 1961
สถานที่
ผล คาตันกาชนะ
คู่สงคราม
แม่แบบ:Country data Katanga

สหประชาชาติ ONUC

ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
  • ~3,000 Belgian, French, and Rhodesian led Katanga mercenaries and irregulars[4][5]
  • 1 jet trainer aircraft
  • Irish company:
  • ~155–158 soldiers[6][7]
  •  
  • In support:
  • 500 Irish, Indian and Swedish soldiers
ความสูญเสีย
  • ~300 killed[8][9]
  • ~1,000 wounded
  • 3 Indians killed[10]
  • 13 wounded
  • 158 captured
  • 1 transport vehicle
  • 1 helicopter damaged
แม่แบบ:Congo Crisis

อ้างอิง

  1. "Soldiers of Fortune Mercenary wars: Congo 1960/68".
  2. Ciaran Byrne (27 July 2016). "The True Story of the Heroic Battle That Inspired the New Netflix Film The Siege of Jadotville". Time. สืบค้นเมื่อ 31 October 2017.
  3. Tom Farrell (9 October 2011). "Band of brothers: Tom Farrell talks to some of the survivors 50 years on". Irish Independent. สืบค้นเมื่อ 30 October 2017. Although he is described in the text as a 'platoon commander' who was eventually a captain, the accompanying photograph is marked 'Lt Noel Carey'.
  4. Power 2005, p. 153: "the Katangans had begun moving in large numbers of troops culminating in a brigade strength unit of approximately 3,000"
  5. "Congo, Part 1; 1960–1963". Air Combat Information Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 November 2014. สืบค้นเมื่อ 8 December 2014.
  6. O'Donoghue 2006.
  7. Stanley Meisler (1995). United Nations: The First Fifty Years. Atlantic Monthly Press. ISBN 9780871136565.
  8. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ bravery
  9. Peace Operations and Intrastate Conflict. Greenwood Publishing Group. 1999. ISBN 9780275961732.
  10. Asante 2014, p. 302-303.