ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Thastp/ทดลองเขียน1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 40:
อารมณ์ขัน (humor) เป็นประเด็นซึ่งถูกถกเถียงในทฤษฎีผัสสารมณ์ งานวิจัยบางงานได้แสดงหลักฐานว่าอารมณ์ขันอาจเป็นการตอบสนองต่อความขัดแย้งระหว่างผัสสารมณ์เชิงลบและเชิงบวก<ref>{{citation | last = McGraw | first = A. P.| date = August 31, 2012 | title = Too close for comfort, or too far to care? Finding humor in distant tragedies and close mishaps. | journal = [[Psychological Science (journal)|Psychological Science]] | volume = 23| issue = 10| pages = 1215–1223| issn = 1467-9280 |display-authors=etal| doi = 10.1177/0956797612443831| pmid = 22941877| s2cid = 2480808}}</ref> เช่นความกลัวและความเพลิดเพลินและส่งผลให้เกิดการหดตัวแบบชักกระตุกในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายหลัก ๆ เช่นในแถบท้องและกะบังลมรวมไปถึงการหดตัวของกล้ามเนื้อแก้มส่นบน ผัสสารมณ์เพิ่มเติมที่ขาดหายในอนุกรมวิธานของทอมกินส์มีความผ่อนคลาย (relief) การยอมจำนน (resignation) ความสับสน (confusion) และอื่น ๆ อีกมากมาย
 
เราสังเกตผัสสารมณ์ความปีติยินดีผ่านการแสดงออกด้วยการ[[ยิ้ม]] (smile) ผัสสารมณฺ์ผัสสารมณ์เหล่านี้สามารถถูกระบุได้ผ่าน[[การแสดงสีหน้า]] (facial expression) ที่ผู้คนมีต่อสิ่งเร้า ณ ขณะนั้นซึ่งธรรมดาแล้วเกิดขึ้นก่อนที่ผู้คนจะสามารถประมวลผลการตอบสนองจริงใด ๆ ต่อสิ่งเร้าได้เสียอีก
 
Theการค้นพบจากการศึกษาการเร้าผัสสารมณ์เชิงลบและเสียงสีขาวโดย findingsแสตนลีย์ fromเอส. aซีดเนอร์ study"สนับสนุนการมีอยู่ของการเร้าผัสสารมณ์เชิงลบผ่านการสังเกตการณ์ถึงการลดค่าผู้พูดจากแหล่งกำเนิดชาติพันธุ์สเปนอื่น on negative affect arousal and white noise by Stanley S. Seidnerๆ{{efn|แปลจาก "support the existence of a negative affect arousal mechanism through observations regarding the devaluation of speakers from other Spanish ethnic origins."}}".<ref name=Seid1991Seid1991>{{Citation | last = Seidner | first = Stanley S. | date = 1991 | title = Negative Affect Arousal Reactions from Mexican and Puerto Rican Respondents | location = Washington, D.C.| publisher = ERIC| url=http://www.eric.ed.gov/ERICWebPortal/custom/portlets/recordDetails/detailmini.jsp?_nfpb=true&_&ERICExtSearch_SearchValue_0ERICExtSearch_SearchValue_0=ED346711ED346711&ERICExtSearch_SearchType_0ERICExtSearch_SearchType_0=no&accno=ED346711ED346711}}</ref>
 
==ทฤษฎีแนววิพากษ์==