ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Thastp/ทดลองเขียน1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
Thastp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ทฤษฎีผัสสารมณ์''' ({{lang-en|Affect theory}}) เป็นทฤษฎีซึ่งพยายามจัดระเบียบ[[ผัสสารมณ์ (จิตวิทยา)|ผัสสารมณ์]]ซึ่งบางครั้งนำมาใช้สลับกับคำว่า[[อารมณ์]]หรือความรู้สึก[[อัตวิสัย]]ให้แบ่งเป็นประเภทเป็นสัดส่วนชัดเจน และต้องการเป็นแบบจำลองแทนการแสดงออก[[สรีรวิทยา|ทางร่างกาย]] สังคม ระหว่างบุคคล และซึ่งผนึกฝังแล้ว มีการสนทนาเกี่ยวกับทฤษฎีผัสสารมณ์ในหลายสาขาวิชาเช่น[[จิตวิทยา]] [[จิตวิเคราะห์]] [[ประสาทวิทยาศาสตร์]] [[แพทยศาสตร์]] [[การสื่อสารระหว่างบุคคล]] [[ทฤษฎีวรรณคดี]] (literary theory) [[ทฤษฎีแนววิพากษ์]] [[สื่อศึกษา]] (media studies) [[เพศสภาพศึกษา]] (gender studies) ฯลฯ '''ทฤษฎีผัสสารมณ์'''จึงมีนิยามหลายแบบที่ขึ้นกับแต่ละสาขาวิชา
 
[[จิตวิทยา|นักจิตวิทยา]] [[ซิลแวน ทอมกินส์]] (Silvan Tomkins) ถูกยกเป็นผู้ริเริ่มทฤษฎีผัสสารมณ์ซึ่งถูกนำเสนอในเล่มที่หนึ่งและสองของหนังสือ ''Affect Imagery Consciousness'' (1962) ของเขา ทอมกินส์ใช้แนวคิดเรื่อง''ผัสสารมณ์''เพื่อหมายถึง "ส่วนของอารมณ์ที่เป็นชีวภาพ" ซึ่งมีนิยามว่าเป็น "กลไกซึ่งฝังแน่นและถูกโปรแกรมไว้ก่อนที่มีอยู่ในร่างกายของเราแต่ละคนซึ่งถ่ายทอดทางพันธุกรรม" ซึ่งเมื่อถูกจุดขึ้นก็จะกระตุ้น "เหตุการทางชีวภาพซึ่งมีรูปแบบที่รู้จัก"<ref>{{Citation | last = Nathanson | first = Donald L. | date = 1992 | title =Shame and Pride: Affect, Sex, and the Birth of the Self (Chapter 2) | location = New York | publisher =W.W. Norton | isbn=0-393-03097-0 }}</ref> อย่างไรก็ตามก็เป็นที่ยอมรับกันว่าประสบการณ์ผัสสารมณ์ในผู้ใหญ่เป็นผลมาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลไกโดยกำเนิดกับ "เมทริกซ์อันซับซ้อนจากการก่อตัวเชิงอุดมผัสสารมณ์ (ideo-affective) ที่มีปฏิสัมพันธ์และซ้อนในกัน"<ref>{{cite journal |last= Nathanson|first= Donald L.|date= March 15, 1998|title= From Empathy to Community|url= http://iirp.org/library/nacc/nacc_nat.html|journal= The Annual of Psychoanalysis|publisher= [[Chicago Institute for Psychoanalysis]]|volume= 25|accessdate= November 10, 2014}}</ref>
บรรทัด 37:
ทฤษฎีผัสสารมณ์ถูกอ้างอิงอย่างมากใน[[ทฤษฎีบทคำสั่ง]] (script theory) ของทอมกินส์
 
===ความพยายามเป็นแบบแทนผัสสารมณ์ในจิตวิทยา===
===Attempts to typify affects in psychology===
Humor is a subject of debate in affect theory. In studies of humor's physiological manifestations, humor provokes highly [[characteristic subgroup|characteristic]] facial expressions.{{Original research inline|date=April 2015}} Some research has shown evidence that humor may be a response to a conflict between negative and positive affects,<ref>{{citation | last = McGraw | first = A. P.| date = August 31, 2012 | title = Too close for comfort, or too far to care? Finding humor in distant tragedies and close mishaps. | journal = [[Psychological Science (journal)|Psychological Science]] | volume = 23| issue = 10| pages = 1215–1223| issn = 1467-9280 |display-authors=etal| doi = 10.1177/0956797612443831| pmid = 22941877| s2cid = 2480808}}</ref> such as fear and enjoyment, which results in spasmodic contractions of parts of the body, mainly in the stomach and diaphragm area, as well as contractions in the upper cheek muscles. Further affects that seem to be missing for Tomkins's taxonomy include relief, resignation, and confusion, among many others.