ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารกึ่งตัวนำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ctavada (คุย | ส่วนร่วม)
.
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 9200020 สร้างโดย Ctavada (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{เก็บกวาด}}
'''สารกึ่งตัวนำ''' ({{lang-en|semiconductor}}) คือ วัสดุที่มีคุณสมบัติในการนำไฟฟ้าอยู่ระหว่างตัวนำและฉนวน เป็นวัสดุที่ใช้ทำอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ มักมีตัวประกอบของ germanium, selenium, silicon วัสดุเนื้อแข็งผลึกพวกหนึ่งที่มีสมบัติเป็นตัวนำ หรือสื่อ[[ไฟฟ้า]]ก้ำกึ่งระหว่าง[[โลหะ]]กับ[[อโลหะ]]หรือ[[ฉนวน]] ความเป็น[[ตัวนำไฟฟ้า]]ขึ้นอยู่กับ[[อุณหภูมิ]] และสิ่งไม่บริสุทธิ์ที่มีเจือปนอยู่ในวัสดุพวกนี้ ซึ่งอาจเป็น[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]หรือ[[สารประกอบ]]ก็มี เช่น ธาตุ[[เจอร์เมเนียม]] [[ซิลิคอน]] [[ซีลีเนียม]] และ[[ตะกั่วเทลลูไรด์]] เป็นต้น วัสดุกึ่งตัวนำพวกนี้มีความต้านทานไฟฟ้าลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งเป็นลักษณะตรงข้ามกับโลหะทั้งปวง
 
ที่อุณหภูมิ ศูนย์ เคลวิน วัสดุพวกนี้จะไม่ยอมให้ไฟฟ้าไหลผ่านเลย เพราะเนื้อวัสดุเป็น[[ผลึกโควาเลนต์]] ซึ่งอิเล็กตรอนทั้งหลายจะถูกตรึงอยู่ในพันธะโควาเลนต์หมด (พันธะที่หยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม) แต่ในอุณหภูมิธรรมดา [[อิเล็กตรอน]]บางส่วนมีพลังงาน เนื่องจากความร้อนมากพอที่จะหลุดไปจากพันธะ ทำให้เกิดที่ว่างขึ้น อิเล็กตรอนที่หลุดออกมาเป็นสาเหตุให้สารกึ่งตัวนำ นำไฟฟ้าได้เมื่อมีมีสนามไฟฟ้ามาต่อเข้ากับสารนี้