ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความต้านทานและการนำไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ctavada (คุย | ส่วนร่วม)
ภาพ
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 8:
:<math>R = {V\over I}, \qquad G = {I\over V} = \frac{1}{R}</math>
 
สำหรับวัสดุและเงื่อนไขที่หลากหลาย ''V'' และ ''I'' จะเป็นสัดส่วนโดยตรงซึ่งกันและกัน ดังนั้น ''R'' และ ''G'' จึงเป็นค่า [[คงที่ (คณิตศาสตร์)|คงที่]] (แม้ว่าพวกมันยังขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ ก็ตาม เช่นอุณหภูมิหรือความเครียด) สัดส่วนนี้จะเรียกว่า [[กฎของโอห์ม]] และวัสดุที่เป็นไปตามกฏนี้จะเรียกว่า วัสดุ ''โอห์ม'' ({{lang-en|ohmic material}})
 
ในกรณีอื่น ๆ เช่น [[ไดโอด]] หรือ [[แบตเตอรี่ (ไฟฟ้า)|แบตเตอรี่]] ''V'' และ ''I'' จะ ''ไม่ได้'' เป็นสัดส่วนโดยตรงกัน อัตราส่วน V/I บางครั้งก็ยังคงเป็นประโยชน์และถูกเรียกว่า "ความต้านทานสถิตย์"<ref name=brown>{{cite book | title = Engineering System Dynamics | author = Forbes T. Brown | publisher = CRC Press | year = 2006 | isbn = 978-0-8493-9648-9 | page = 43 | url = https://books.google.com/books?id=UzqX4j9VZWcC&pg=PA43 }}</ref><ref name=kaiser>{{cite book | title = Electromagnetic Compatibility Handbook | author = Kenneth L. Kaiser | publisher = CRC Press | year = 2004 | isbn = 978-0-8493-2087-3 | pages = 13–52 | url = https://books.google.com/books?id=nZzOAsroBIEC&pg=PT1031 }}</ref> ในสถานการณ์อื่น ๆ [[อนุพันธ์]] <math> \frac{dV}{dI} \,\!</math> อาจจะมีประโยชน์มากที่สุด ค่านี้จะเรียกว่า "ความต้านทานดิฟเฟอเรนเชียล" ({{lang-en|differential resistance}})